Th กลองดิจิตอล คูมือผู ใช ขอขอบคุณที่อุดหนุนผลิตภัณฑ CASIO • กอนการใชงาน ควรอานขอควรระมัดระวังที่ระบุไวในคูม ือผูใชฉบับนี้ • เก็บรักษาคูมือผูใชเพื่ออางอิงตอไปในภายหนา • สําหรับขอมูลลาสุดของผลิตภัณฑนี้ โปรดไปที่เว็บไซต EXILIM ที่ http://www.exilim.
อุปกรณเสริม เมื่อแกะกลองกลองดิจิตอล โปรดตรวจสอบใหแนใจวามีรายการอุปกรณเสริมทั้งหมดตามที่ระบุไวดานลาง หากมีรายการใดขาดหายไป โปรดติดตอรานคาที่ซื้อกลองมา แบตเตอรี่ลิเธียมไอออนแบบชารจ (NP-130) อะแดปเตอร USB-AC (AD-C53U) สาย USB การรอยสายคลองกับกลอง รอยสายคลองที่นี่ * ลักษณะของปลั๊กไฟจะ แตกตางกันตามประเทศ หรือพื้นที่ทางภูมิศาสตร สายไฟ สายคลอง คูมือการใชงานขั้นพื้นฐาน 2
โปรดอานกอนใชงาน! • เนื้อหาในคูมือฉบับนี้อาจเปลี่ยนแปลงไดโดยไมตองแจงใหทราบลวงหนา • เนือ้ หาในคูมือฉบับนี้ผานการตรวจเช็คทุกขั้นตอนตามลําดับการผลิต หากคุณสังเกตเห็นความผิดปกติ หรือเกิดขอสงสัย ฯลฯ โปรดติดตอทางบริษัท • หามคัดลอกเนื้อหาในคูม ือผูใชฉบับนี้ ไมวาจะเพียงบางสวนหรือทั้งหมด การใชเนื้อหาอื่นใดในคูมอื ฉบับนี้ โดยไมไดรับอนุญาตจากทางบริษัท CASIO COMPUTER CO., LTD. ถือเปนการละเมิดกฎหมายลิขสิทธิ์ ยกเวนในกรณีที่ใชงานสวนตัว • บริษัท CASIO COMPUTER CO., LTD.
สารบัญ อุปกรณเสริม . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 2 โปรดอานกอนใชงาน! . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 3 คําแนะนําทั่วไป . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 9 รายละเอียดบนหนาจอและวิธีเปลี่ยนหนาจอ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
การถายภาพชุด . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . (ตอเนื่องความเร็วสูง) . . . 55 การใชโฟกัสควบคุม . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 59 ❚ ❚ การถายภาพพื้นหลังเบลอ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . (พื้นหลังเบลอ) . . . 59 การถายดวย Full Focus มาโคร . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .(All-In-Focus มาโคร) . . . 60 การถายภาพโดยใชเอฟเฟกตภาพศิลปะ . . . . . . . . . . . . .
การตั้งคาคุณภาพของภาพเคลื่อนไหว . . . . . . . . . . . . . . (คุณภาพภาพเคลื่อนไหว) . . . 96 การกําหนดความไวแสง . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . (ความไวแสง) . . . 97 การกําหนดคาสูงสุดสําหรับความไวแสง . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . (ISO สูงสุด) . . . 98 การซูมโดยใชความละเอียดสูง . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . (ซูมคมชัด) . . . 99 การกําหนดพื้นที่โฟกัสอัตโนมัติ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . (พื้นที่ AF) . . .
❚❙ ฟงกชันแสดงภาพฟงกชันอืน ่ ๆ (PLAY MENU) 121 การเลนสไลดโชวบนกลอง . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . (สไลดโชว) . . 121 ❚ การโอนเพลงจากคอมพิวเตอรลงหนวยความจํากลอง . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 122 การสรางภาพนิ่งจากกรอบภาพเคลื่อนไหว . . . . . . . . . . . . . . . .(MOTION PRINT) . . 123 การตัดตอวีดีโอจากกลอง. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . (ตัดตอวีดีโอ) . . 124 การปรับความสวางภาพใหดีที่สดุ . . . . . . . .
การปรับความสวางหนาจอ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .(หนาจอ) . . 155 การปดการเชื่อมตอสัญญาณการด Eye-Fi . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . (Eye-Fi) . . 156 การกําหนดการตั้งคาเชื่อมตอการด FlashAir . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .(FlashAir) . . 156 การกําหนดการตั้งคาเสียงกลอง . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . (เสียง) . . 156 การสรางโฟลเดอรจัดเก็บภาพ . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
คําแนะนําทั่วไป ตัวเลขที่อยูในวงเล็บจะเปนเลขหนาที่อธิบายรายการแตละรายการ ดานหนา ดานหลัง 1 2 3 4 56 7 9 bk bl bm bn bo bp bq cl ck bt bs br 8 1 แปนหมุนเลือกโหมด (หนา 28, 36, 65) 2 ตัวควบคุมการซูม (หนา 29, 51, 116) 3 ปุมชัตเตอร (หนา 26, 28) 4 แฟลช (หนา 48) 5 [ON/OFF] (เปดเครื่อง) (หนา 22, 26) 6 ไฟหนา (หนา 39, 106) 7 [Õ] (ชัตเตอรตอเนื่อง) (หนา 55) 8 เลนส 9ไมโครโฟน (หนา 66) bkไฟแสดงสถานะดานหลัง brปุม [MENU] (หนา 65, 92) bsปุม [p] (เลนภาพ) blปุม [r] (บันทึก) (หนา 26) bmป
รายละเอียดบนหนาจอและวิธีเปลี่ยนหนาจอ บนหนาจอจะมีสัญลักษณ ไอคอน และคาตางๆ มากมายเพื่อแสดงสถานะของกลองใหคุณรับทราบ • หนาจอตัวอยางในบทนี้ใชเพื่อแสดงตําแหนงของสัญลักษณและตัวเลขทั้งหมดที่จะปรากฏบนหนาจอ ในโหมดตางๆ ใหคุณทราบเทานั้น ซึ่งไมไดหมายถึงหนาจอที่ปรากฏบนกลองจริงๆ .
การบันทึกภาพนิ่ง (การถายภาพชุด) 1ความเร็วชัตเตอรตอเนื่อง (ตอเนื่อง) (หนา 56) 1 2 3 2โหมดบันทึก (หนา 28) 6 3เวลาตอเนื่องที่ใชได/จํานวนภาพตอเนื่อง (หนา 56) 5 4โหมดชัตเตอรตอเนื่อง (หนา 55) 5ถายตอเนื่องที่กําหนดไวลวงหนา (หนา 57) 6ถายตอเนื่องสูงสุด (หนา 56) . 4 .
. การดูภาพตอเนื่อง 1จํานวนภาพในกลุม (หนา 111) 2ไอคอนกลุมตอเนื่อง (หนา 111) 12 .
. การกําหนดการตั้งคาหนาจอ ทุกครั้งที่กดปุม [8] (DISP) จะเปนการวนไปมาระหวางการตัง้ คาจอภาพ วาจะแสดง หรือซอนหนาจอขอมูล คุณสามารถกําหนดการตั้งคาสําหรับโหมดบันทึกภาพและ โหมดเลนภาพแยกจากกันได [8] (DISP) โหมดบันทึกภาพ เปดขอมูล เปดขอมูล, เปดฮีสโตแกรม ปดขอมูล แสดงขอมูลการตั้งคา แสดงขอมูลการตั้งคาและฮีสโตแกรม (หนา 182) ที่อยูทางดานขวาของหนาจอ ฮีสโตแกรม ซอนขอมูลการตั้งคา โหมดเลนภาพ เปดหนาจอขอมูล แสดงการตั้งคาเมื่อถายภาพ วันที่และเวลาปจจุบัน รวมถึงขอมูลอืน่ ๆ เปดขอมูล,
การเริม่ ใชงานเบือ้ งตน คุณใชกลอง CASIO ทําอะไรไดบาง กลอง CASIO รุนนี้มีตัวเลือกคุณลักษณะและฟงกชันที่มีประสิทธิภาพ ทําใหบันทึกภาพดิจิตอลไดงายขึ้น อันประกอบไปดวยฟงกชันหลักตอไปนี้ ART SHOT เอฟเฟกตภาพศิลปะที่หลากหลายจะทําใหวัตถุตน แบบที่ดูธรรมดาและ เรียบงายกลายเปนสิ่งที่แปลกใหมและนาตื่นตาตืน่ ใจ “ART SHOT” มีเอฟเฟกตดังนี้: HDR ภาพศิลปะ, กลองของเลน, ภาพนวล, โทนสีออน, ปอบ, ซีเปย, ภาพขาวดํา, แบบจําลอง, ฟชอาย *ดูรายละเอียดเพิ่มเติมที่หนา 61 ความเร็วสูงภาพถายกลางคืน กลองจะทําการ
พื้นหลังเบลอ/All-In-Focus มาโคร (โฟกัสควบคุม) โฟกัสควบคุมจะถายและวิเคราะหชุดภาพที่มีหลายภาพ แลวนํามา รวมกันดวยวิธีที่ทําใหผลิตภาพ ไมวา จะเปนภาพพื้นหลังเบลอหรือ ทุกๆ อยางอยูใ นโฟกัส: จากวัตถุตนแบบที่อยูใกลจนถึงที่อยูหางออกไป *ดูรายละเอียดเพิ่มเติมที่หนา 59 ภาพระยะกวาง เมื่อใชคุณลักษณะนี้ กลองจะถายภาพหลายภาพ แลวนําภาพ มารวมกันเพื่อสรางภาพหนึ่งภาพที่มีมุมภาพกวางเปนพิเศษ ซึ่งจะมากกวาระยะมุมกวางสูงสุดของเลนส เมื่อแปลงใหเทียบเทากับ เลนส 35 มม.
อันดับแรก ชารจแบตเตอรี่กอ นการใชงาน โปรดทราบวาแบตเตอรี่ของกลองที่ซื้อมาใหมยังไมไดชารจ ปฏิบัติตามขัน้ ตอนตอไปนี้เพื่อใสแบตเตอรี่ลงใน กลองถายรูป แลวชารจ • กลองของคุณตองใชพลังงานจากแบตเตอรี่ลิเธียมไอออนแบบชารจ (NP-130) ของ CASIO โดยเฉพาะ หามใชแบตเตอรี่ประเภทอื่น การใสแบตเตอรี่ 1. เปดฝาครอบแบตเตอรี่ 2.
ชารจแบตเตอรี่ คุณสามารถใชวิธีการใดวิธีการหนึ่งจากสองวิธีตอไปนี้เพื่อชารจแบตเตอรี่ของกลองถายรูป • อะแดปเตอร USB-AC • การเชื่อมตอ USB กับคอมพิวเตอร .
การทํางานของไฟแสดงสถานะดานหลัง ไฟแสดงสถานะดานหลัง สถานะไฟ คําอธิบาย ติดเปนสีแดง กําลังชารจ กะพริบเปนสีแดง อุณหภูมิโดยรอบผิดปกติ ปญหาจากอะแดปเตอร USB-AC หรือแบตเตอรี่มีปญหา (หนา 176) ปด การชารจเสร็จสมบูรณ .
• ในการเชื่อมตอกลองกับคอมพิวเตอรดวยสาย USB เปนครั้งแรก อาจมีขอความระบุขอ ผิดพลาดปรากฏบน คอมพิวเตอร หากเกิดกรณีดังกลาวขึน้ ใหถอดสาย USB ออก แลวเสียบเขาไปใหม • แบตเตอรี่ที่ไมไดใชเปนเวลานาน, คอมพิวเตอรบางประเภท และสภาพการเชื่อมตออาจทําใหใชเวลา ในการชารจนานกวาหกชั่วโมงโดยประมาณ ซึ่งจะกระตุนตัวจับเวลาที่จะตัดการชารจโดยอัตโนมัติ แมยังชารจแบตเตอรี่ไมเต็มก็ตาม หากเกิดกรณีดังกลาวขึ้น ใหถอดสาย USB ออก แลวเสียบเขาไปใหม เพื่อเริ่มชารจ ควรใชอะแดปเตอร USB-AC ที่ใหมา หากตองการใหชารจ
ขอควรระมัดระวังอื่นๆ ในการชารจ • ดวยวิธีการชารจสองแบบที่อธิบายไวขา งตน คุณสามารถชารจแบตเตอรี่ของกลองถายรูป (NP-130) โดยไมตองถอดแบตเตอรี่ออกจากกลอง ทั้งนี้ คุณสามารถชารจแบตเตอรี่โดยใชอุปกรณชารจ (BC-130L) ซึ่งเปนอุปกรณเสริมที่มีวางจําหนายได หามใชอุปกรณชารจแบบอื่น การพยายามใชอุปกรณชารจ ที่แตกตางไปอาจทําใหเกิดอุบัติเหตุโดยไมคาดคิด • กลองรุนนี้สามารถชารจไฟไดจากพอรต USB 2.
การตรวจเช็คพลังงานแบตเตอรีท่ ี่เหลืออยู ขณะที่ใชพลังงานแบตเตอรี่ สัญลักษณแบตเตอรี่บนหนาจอจะแสดงพลังงานที่เหลืออยูตามที่แสดงไวดานลาง พลังงานที่เหลือ มาก สัญลักษณแบตเตอรี่ สีสัญลักษณ นอย * สีขาว * * สีขาว * * สีแดง * สีแดง แสดงวาแบตเตอรี่ใกลหมด ชารจแบตเตอรี่โดยเร็วที่สุด กลองจะไมสามารถบันทึกภาพไดเมือ่ สัญลักษณ ปรากฏขึ้น ชารจแบตเตอรี่ทันที • ระดับที่แสดงไวดวยสัญลักษณแบตเตอรี่อาจเปลี่ยนไปเมื่อคุณสลับไปมาระหวางโหมดบันทึกภาพกับ โหมดเลนภาพ • เมือ่ ทิ้งกลองไวประมาณ 30 วัน โดย
การกําหนดการตั้งคาเบือ้ งตนเมือ่ เปดกลองเปนครั้งแรก เมื่อคุณใสแบตเตอรี่ลงในกลองเปนครั้งแรก หนาจอจะปรากฏขึน้ เพื่อใหคุณกําหนดคาภาษาบนหนาจอ วันที่ และเวลา หากไมตงั้ คาวันที่และเวลาใหถูกตองจะทําใหขอมูลวันที่และเวลาที่บันทึกภาพไมถูกตอง • หากคุณซื้อกลองที่วางจําหนายสําหรับตลาดญี่ปุน หนาจอสําหรับเลือกภาษาจะไมปรากฏในขั้นตอนที่ 2 ของขัน้ ตอนดานลางนี้ สําหรับกรณีนี้ หากตองการเปลี่ยนภาษาบนหนาจอจากภาษาญี่ปุน ใหใชขนั้ ตอน ในที่กลาวถึงใน “การกําหนดภาษาบนหนาจอ (Language)” (หนา 163) โปรด
• แตละประเทศจะควบคุมคาออฟเซ็ตเวลาในทองถิ่นและการใชเวลาฤดูรอน ดังนั้น คาเหลานั้นจะมี การเปลี่ยนแปลง • การถอดแบตเตอรี่ออกจากกลองทันทีหลังจากกําหนดการตั้งคาเวลาและวันที่เปนครั้งแรกจะทําใหระบบ รีเซ็ตการตั้งคาดังกลาวกลับเปนคาแรกเริ่ม หามถอดแบตเตอรี่ออกจากกลองหลังจากกําหนดการตั้งคา เปนเวลาอยางนอย 24 ชั่วโมง การเตรียมการดหนวยความจํา แมวากลองดิจิตอลจะมีหนวยความจําภายในซึ่งใชในการจัดเก็บภาพนิ่งและภาพเคลื่อนไหวแลวก็ตาม คุณอาจตองการซื้อการดหนวยความจําซึ่งมีจําหนายทั่วไปเพื่อใหมีหนวย
การใสการดหนวยความจํา 1. กดปุม [ON/OFF] (เปดเครื่อง) เพื่อปดเครื่อง จากนั้น เปดฝาครอบแบตเตอรี่ 2. ใสการดหนวยความจํา ดันการดหนวยความจําเขาไปในชองใสการดจนสุด โดยใหดานหนาของการดหงายขึ้นดานบน (ไปทางดานหนาจอของกลอง) กดการดเขาไปจนสุด เมื่อไดยินเสียงคลิก แสดงวาการดล็อคเขาตําแหนง ดานหนา ดานหนา 3.
การเปลีย่ นการดหนวยความจํา กดการดหนวยความจําลง แลวปลอย จะทําใหการด ดีดออกมาจากชองใสการดหนวยความจําเล็กนอย ดึงการดสวนที่เหลือออกมา จากนั้นใสการดอันใหม เขาไป • หามถอดการดออกจากกลองขณะที่ไฟแสดงสถานะ ดานหลังกําลังกะพริบเปนสีเขียว การกระทําดังกลาว จะทําใหกลองไมสามารถจัดเก็บภาพไดและยังทําให การดหนวยความจําชํารุดเสียหายได การฟอรแมต (เริ่มตน) การดหนวยความจําอันใหม ฟอรแมตการดหนวยความจําในกลองกอนเริ่มใชงานเปนครั้งแรก • การฟอรแมตการดหนวยความจําที่มีภาพนิ่งหรือไฟลอนื่ ๆ
การเปดและปดกลองดิจิตอล .
การจับกลองใหถูกวิธี ภาพจะออกมาไมชัดหากคุณขยับกลอง ไปมาเมื่อกดปุมชัตเตอร เมื่อกดปุม ชัตเตอร ตองแนใจวาจับกลองไวตามที่ แสดงในภาพประกอบ และจับกลองใหนิ่ง โดยกดแขนเขากับดานขางขณะถายภาพ คอยๆ กดปุมชัตเตอรโดยจับกลองใหนิ่ง ระวังอยาใหขยับขณะที่ลั่นชัตเตอรและ ในชวงหลังจากลั่นชัตเตอรไปไมนาน ขอนี้ถือเปนเรื่องที่สําคัญมากเปนพิเศษ เมื่อถายภาพในที่มีแสงนอย ซึ่งจะทําให ความเร็วชัตเตอรชาลง แนวนอน แนวตั้ง จับกลองโดยใหแฟลชอยูเหนือเลนส • ระวังอยาใหนิ้วมือและสายคลองบังบริเวณที่แสดง
การถายภาพนิ่ง การเลือกโหมดบันทึกแบบอัตโนมัติ คุณสามารถเลือกโหมดบันทึกแบบอัตโนมัติไดหนึ่งแบบจากทั้งหมดสองแบบ (โปรแกรมอัตโนมัติ หรือ อัตโนมัตแิ บบพิเศษ) ตามความตองการในการถายภาพดิจิตอลของคุณเอง การตั้งคา ไอคอนที่แสดง บนหนาจอ บันทึกภาพ P โปรแกรมอัตโนมัติ Ÿ อัตโนมัติแบบพิเศษ คําอธิบาย โหมดนี้จะเปนโหมดบันทึกแบบอัตโนมัติแบบมาตรฐาน หากเลือกการบันทึกแบบอัตโนมัติแบบพิเศษ กลองจะกําหนดเอง โดยอัตโนมัติวา คุณกําลังถายภาพวัตถุตน แบบ ภาพทิวทัศน หรือสภาพการถายรูปอื่นๆ การบันทึกดวยฟงกชันอัตโนมัติ แบบพิ
การถายภาพนิ่ง 1. เล็งกลองไปที่วัตถุตนแบบ หากคุณถายภาพดวยฟงกชันอัตโนมัตแิ บบพิเศษ จะมีขอความอธิบาย รูปแบบของภาพนิ่งที่กลองตรวจจับไดปรากฏที่ดานลางของหนาจอ • คุณสามารถซูมภาพไดหากคุณตองการ ตัวควบคุมการซูม w มุมกวาง z มุมไกล จะปรากฏขึ้นเมื่อกลอง ตรวจพบวากลองตั้งนิง่ อยูบนขาตั้งกลอง หากกลองกําหนดวาจะตองถายภาพชุดดวยฟงกชนั ชัตเตอรตอเนือ่ ง (ตอเนื่อง) “Š” จะปรากฏบนหนาจอ ระวังอยาขยับกลองหรือใหวัตถุตนแบบเคลื่อนที่จนกวาจะถายภาพตอเนือ่ งเสร็จ 2.
3. ตั้งกลองใหนิ่ง กดปุมชัตเตอรจากที่คางไว ลงจนสุด กดจนสุด กลองจะบันทึกภาพนิ่ง รูปถาย (ภาพถูกบันทึก) การบันทึกภาพเคลือ่ นไหว [0] (ภาพเคลื่อนไหว) กดปุม [0] (ภาพเคลื่อนไหว) เพื่อเริ่มบันทึกภาพเคลื่อนไหว กดปุม [0] (ภาพเคลื่อนไหว) อีกครั้งเพื่อหยุดบันทึกภาพเคลื่อนไหว ดูรายละเอียดเพิ่มเติมไดจากหนาตอไปนี้ ภาพเคลื่อนไหวมาตรฐาน (ภาพเคลื่อนไหว STD): หนา 65 ภาพเคลื่อนไหวความละเอียดสูง (ภาพเคลื่อนไหว FHD): หนา 68 ภาพเคลื่อนไหวความเร็วสูง (ภาพเคลื่อนไหว HS): หนา 68 . หากภาพไมโฟกัส...
. การถายภาพดวยฟงกชันอัตโนมัติแบบพิเศษ • นอกจากคาความไวแสง ความเร็วชัตเตอร และรูรับแสงแลว กลองจะดําเนินการตอไปนี้โดยอัตโนมัติ ตามที่ตองการเมื่อถายภาพโดยใชอัตโนมัตแิ บบพิเศษ – ตอเนื่อง AF (หนา 102) – อัจฉริยะ AF (หนา 99) – คนหาใบหนา (หนา 102) • การถายภาพดวยอัตโนมัติแบบพิเศษจะทําใหเกิดแรงสั่นและสัญญาณรบกวนขึ้นเนื่องจากการทํางาน ของเลนส ซึ่งไมใชการบงชี้ถึงการทํางานผิดปกติแตอยางใด • เมือ่ ถายภาพโดยใชฟงกชันอัตโนมัติแบบพิเศษ ขอความ “กําลังดําเนินการอัตโนมัติแบบพิเศษ” อาจปรากฏบนหน
การดูภาพนิ่ง ดําเนินการตามขั้นตอนตอไปนี้ในการดูภาพนิ่งบนหนาจอของกลองดิจิตอล • สําหรับรายละเอียดเกี่ยวกับวิธีเลนภาพเคลื่อนไหว โปรดดูหนา 109 • สําหรับรายละเอียดเกี่ยวกับภาพที่บันทึกโดยใชฟงกชันชัตเตอรตอเนื่อง (ตอเนื่อง) โปรดดูหนา 111 1.
การลบภาพนิ่งและภาพเคลื่อนไหว หากหนวยความจําเต็ม คุณสามารถลบภาพนิ่งและภาพเคลื่อนไหวที่คุณไมตองการอีกตอไปออกเพื่อเพิ่ม พื้นที่หนวยความจําและบันทึกภาพไดเพิ่มมากขึ้น • โปรดจําไววาการดําเนินการลบไฟล (ภาพ) ยังไมเสร็จสิ้น • สําหรับรายละเอียดเกี่ยวกับภาพที่บันทึกโดยใชฟงกชันชัตเตอรตอเนื่อง (ตอเนื่อง) โปรดดูหนา 112 • ถาคุณเลือก “ปดใชงาน” สําหรับการตั้งคา “ลบคีย” ในเมนู “¥ SETTING” (หนา 160) เมนูลบจะไม ปรากฏขึ้นเมื่อกดปุม [2] ( ) (ลบ) คุณจะลบไฟลออกไดหากเลือก “เปดใชงาน” สำหรับ “ลบคีย” เทา
5. . 1. 2. 3.
. ขอบเขตในการโฟกัสอัตโนมัติ • ขอใดขอหนึ่งตอไปนี้อาจทําใหการโฟกัสภาพไมถูกตองเหมาะสม – ผนังที่ทาสีลวนหรือวัตถุตนแบบอืน่ ๆ ที่มีความตางสีนอยมาก – วัตถุตนแบบที่มีแสงสะทอนมาก – วัตถุตนแบบที่เปนประกายมาก – มานบังตาหรือวัตถุตนแบบอื่นๆ ที่มีลวดลายตามแนวนอนซ้ําๆ กัน – วัตถุตนแบบหลายๆ ชิ้นที่มีระยะหางจากกลองแตกตางกัน – วัตถุตน แบบในที่มืด – วัตถุตนแบบที่อยูหางจากแสงมากเกินกวาที่ไฟนํา AF จะสองถึงได – กลองขยับขณะถายภาพ – วัตถุตนแบบเคลื่อนที่อยางรวดเร็ว – วัตถุตนแบบอยูนอกระยะโฟกัสของกล
ผูช วยในการถายภาพนิ่ง การเลือกโหมดบันทึก กลองเครื่องนี้มีโหมดบันทึกภาพแบบตางๆ หลายโหมด กอนที่จะ บันทึกภาพ หมุนแปนหมุนเลือกโหมดเพื่อเลือกโหมดบันทึก ที่เหมาะสมกับชนิดของภาพที่จะบันทึก แปนหมุนเลือกโหมด P โปรแกรมอัตโนมัติ โหมดบันทึกแบบอัตโนมัติมาตรฐาน โดยปกติ โหมดนี้เปนโหมดที่คณ ุ ควรเลือกใช (หนา 28) Ÿ อัตโนมัติแบบพิเศษ หากเลือกการบันทึกแบบอัตโนมัติแบบพิเศษ กลองจะกําหนดเองโดยอัตโนมัติวาคุณกําลังถาย ภาพวัตถุตนแบบ ภาพทิวทัศน หรือสภาพการถายรูปอื่นๆ การบันทึกแบบพรีเมียมออโตโปรจะสราง ภาพที่มีคณ
M โหมด M (ปรับคาแสงเอง) โหมดนี้จะทําใหคุณควบคุมการตั้งคารูรับแสงและความเร็วชัตเตอรไดเองทั้งหมด 1 กดปุม [SET] เพื่อเปดแผงควบคุม 2 ใชปุม [8] และ [2] เพื่อเลือก A (รูรับแสง) 3 ใชปุม [4] และ [6] เพื่อเปลี่ยนการตั้งคารูรับแสง 4 ใชปุม [8] และ [2] เพื่อเลือก S (ความเร็วชัตเตอร) 5 ใชปุม [4] และ [6] เพื่อเปลี่ยนการตั้งคาความเร็วชัตเตอร จากนั้น กดปุม [SET] S โหมด S (ปรับตามความเร็วชัตเตอร) ในโหมดนี้ คุณจะเลือกคาความเร็วชัตเตอรกอน แลวระบบจะปรับตัง้ คาอื่นๆ ตามความเร็วชัตเตอร 1 กดปุม [SET] เ
การใชแผงควบคุม คุณสามารถใชแผงควบคุมในการกําหนดการตั้งคากลองได [8] [2] [4] [6] 1. ในโหมดบันทึกภาพ กดปุม [SET] 2.
การใชฟงกชันตั้งเวลาถาย (ตั้งเวลาถาย) เมื่อใชฟงกชันตั้งเวลาถาย การกดปุมชัตเตอรจะเปนการเริ่มจับเวลา กลองจะลั่นชัตเตอรและถายภาพ เมื่อผานพนชวงเวลาที่ตั้งไว 1. 2. 3.
• ฟงกชันตั้งเวลาถายไมสามารถใชรวมกับคุณลักษณะตอไปนี้ ตอเนื่องความเร็วสูงกับตอเนื่องที่กําหนดไวลวงหนา, บันทึกลวงหนา (ภาพเคลื่อนไหว), แกไขเวลาหนวง, ถายภาพพาโนรามา, ภาพระยะกวาง, ถายสามภาพ • ฟงกชันตั้งเวลาถาย 3 ภาพ ไมสามารถใชรวมกับคุณลักษณะตอไปนี้ ภาพเคลื่อนไหว, ตอเนื่องความเร็วสูง, ซูมชัดหลายภาพ, การถายภาพกลางคืนความเร็วสูง, เลือกภาพที่ดีที่สุดดวยความเร็วสูง, YouTube, พื้นหลังเบลอ, All-In-Focus มาโคร การปรับสมดุลแสงสีขาว (สมดุลแสงสีขาว) คุณสามารถปรับสมดุลแสงสีขาวใหเขากันกับแหลงค
การตั้งคา · WB แบบปรับเอง ไอคอนที่แสดง บนหนาจอ คําอธิบาย บันทึกภาพ สําหรับกําหนดคากลองดวยตนเองเพื่อใหเขากับแหลง แสงสวางที่ใช กระดาษหนาวางสีขาว 1 เลือก “WB แบบปรับเอง” ุ 2 ภายใตสภาวะแสงไฟที่คณ จะใชเมื่อถายภาพ เล็งกลอง ไปที่กระดาษหนาวางสีขาว โดยใหกระดาษเต็มหนาจอ จากนั้น กดปุมชัตเตอร 3 กดปุม [SET] การตั้งคาสมดุลแสงสีขาวจะยังอยูแมคุณปดกลองแลวก็ตาม • เมื่อเลือก “‡ WB อัตโนมัต”ิ เปนการตั้งคาสมดุลแสงสีขาว กลองจะกําหนดจุดสีขาวของ วัตถุตนแบบโดยอัตโนมัติ สภาพของแหลงแสงสวางและสีข
การเลือกโหมดโฟกัส (โฟกัส) 1. 2. 3. ในโหมดบันทึกภาพ กดปุม [SET] ใชปุม [8] และ [2] เพื่อเลือกตัวเลือกแผงควบคุม ใชปุม [4] และ [6] เพือ่ เลือกการตั้งคาที่คุณตองการ จากนั้น กดปุม [SET] การตั้งคา Q AF (โฟกัส อัตโนมัติ) ´ มาโคร Á ซุปเปอรมาโคร ) โฟกัสอนันต W MF (ปรับโฟกัส เอง) *1 *2 *3 (โฟกัส) ไอคอนที่แสดง บนหนาจอ บันทึกภาพ ไมมี รูปแบบ ของภาพ โหมดโฟกัส ภาพนิ่ง ภาพ เคลื่อนไหว การบันทึก ทั่วไป ใกล ระยะโฟกัสโดยประมาณ*1 ภาพนิ่ง ภาพ เคลื่อนไหว 5 ซม. ถึง 9 (ระยะอนันต) (มุมกวาง)*2 1 ซม.
การโฟกัสโดยใชการปรับโฟกัสเอง 1. บนหนาจอ จัดองคประกอบภาพเพื่อใหวัตถุตนแบบที่คณ ุ ตองการโฟกัสอยูภายในกรอบสีเหลือง 2.
การใชล็อคโฟกัส “ล็อคโฟกัส” เปนเทคนิคที่คุณสามารถนํามาใชไดเมื่อตองการ จัดองคประกอบภาพในกรณีที่วตั ถุตนแบบที่คุณตองการโฟกัสไมอยูใน กรอบโฟกัสตรงกึ่งกลางของหนาจอ • ในการใชล็อคโฟกัส เลือก “U เฉพาะจุด” หรือ “O ติดตาม” สําหรับ พื้นที่โฟกัสอัตโนมัติ (หนา 99) 1. จัดใหกรอบโฟกัสบนหนาจออยูใ นแนวเดียวกันกับวัตถุตน แบบ ที่คณ ุ ตองการโฟกัส จากนั้น กดปุมชัตเตอรลงครึ่งหนึ่ง 2.
การกําหนดความไวแสง (ความไวแสง) ความไวแสงคือการวัดความไวที่มีตอ แสง 1. 2. 3.
การบันทึกภาพบุคคลที่สวยงาม (ระดับการแตงหนา) ฟงกชันแตงหนาจะปรับพื้นผิวของวัตถุตนแบบใหเนียนเรียบขึ้นและปรับเงาบนใบหนาที่เกิดจากแสงอาทิตย ที่แรงจัดใหเบาลงเพื่อใหภาพบุคคลดูสวยขึ้น คุณสามารถเลือกระดับการแตงหนาไดภายในชวง “0 (ปด)” ถึง “+12 (สูงสุด)” 1. 2. 3.
การแกไขความสวางภาพ (ชดเชยแสง) คุณสามารถปรับคาชดเชยแสงของภาพ (คา EV) ดวยตนเองกอนจะถายภาพได • ระยะการชดเชยแสง: –2.0 EV ถึง +2.0 EV • หนวย: 1/3 EV 1. 2. 3.
การใชแฟลช (แฟลช) 1. ในโหมดบันทึกภาพ กดปุม [2] ( หนึ่งครั้ง 2. ใชปุม [4] และ [6] เพือ่ เลือกการตั้งคาแฟลช ที่คณ ุ ตองการ จากนั้น กดปุม [SET] การตั้งคา > แฟลชอัตโนมัติ 3.
• สิ่งแปลกปลอมบนกรอบแฟลชจะตอบสนองตอแสงแฟลช ทําใหเกิดควันและกลิ่นแปลกปลอม แมวาลักษณะ ดังกลาวไมไดบงบอกถึงการทํางานผิดปกติ น้ํามันจากนิ้วมือและสิ่งแปลกปลอมตางๆ ที่กรอบแฟลชจะเช็ด ออกยากในภายหลัง ดวยเหตุนี้ คุณควรเช็ดกรอบแฟลชดวยผาแหงและนุมอยางสม่ําเสมอใหติดเปนนิสัย • ระวังอยาใหนิ้วมือและสายคลองบังแฟลช • อาจไมมีเอฟเฟกตที่คุณตองการเมื่อวัตถุตนแบบอยูไกลเกินไปหรืออยูใกลเกินไป • เวลาในการชารจแฟลช (หนา 196) จะขึ้นอยูกับสภาพการทํางาน (เชน สภาวะของแบตเตอรี่และ อุณหภูมิโดยรอบ เปนตน) • การ
การกําหนดโหมดวัดแสง (วัดแสง) โหมดวัดแสงจะกําหนดวาสวนใดของวัตถุตนแบบที่จะตองวัดเพื่อชดเชยแสง 1. 2. 3.
การถายภาพโดยใชฟงกชันซูม กลองของคุณไดติดตั้งการซูมไวหลายประเภท: ซูมออปติคัล, ซูม HD, ซูมชัดภาพเดียว, ซูมชัดหลายภาพ และซูมดิจิตอล ระดับการซูมสูงสุดจะขึ้นอยูกับการตั้งคาขนาดภาพและการตั้งคาเปด/ปดฟงกชันซูมดิจิตอล ซูมออปติคัล การซูมสามารถดําเนินการไดโดยเปลี่ยนระยะโฟกัสเลนส ซึ่งจะไมทําใหคุณภาพ ของภาพลดลง ซูม HD การเพิ่มคาการซูมดวยการตัดสวนของภาพตนฉบับออกและขยายใหใหญขึ้น โดยไมทําใหคุณภาพของภาพลดลง ซูมชัดภาพเดียว การใชเทคโนโลยีความละเอียดสูงมากเพื่อลดการเกิดความเสียหายในภาพ (หนา 54)
ขอมูลบนหนาจอเมื่อซูมภาพ ขอมูลตางๆ จะปรากฎขึ้นบนหนาจอขณะซูมภาพ . ไอคอนโหมดซูม โหมดซูม ระยะโฟกัส (แปลงเปนรูปแบบฟลม 35 มม.
. การตรวจจับแถบซูม ขณะซูม แถบซูมจะปรากฏบนหนาจอเพื่อแสดงคาการซูมปจจุบัน ชวงระยะทีป่ องกันไมใหภาพเกิดความเสียหาย ระยะที่ภาพเกิดความเสียหาย มุมกวาง มุมไกล เครือ่ งชีร้ ะยะซูม (แสดงการซูมปจจุบัน) จุดขีดจํากัดการซูมออปติคัล จากจุดที่ภาพเสียหาย • ตําแหนงของจุดนีจ้ ะขึ้นอยูกับขนาดภาพ, การตั้งคา “ซูมคมชัด” และการเปดใชงานฟงกชันซูมชัดหลายภาพ .
การซูมโดยใชความละเอียดสูง (ซูมคมชัด) การซูมโดยใชความละเอียดสูงพิเศษจะมีสองประเภท คือ ซูมชัดภาพเดียวและซูมชัดหลายภาพ ฟงกชัน ซูมชัดภาพเดียวจะใชความละเอียดที่สูงเปนพิเศษเพื่อขยายชวงการซูม ซึ่งจะชวยลดโอกาสที่จะเกิด ความเสียหายตอคุณภาพของภาพได ฟงกชันซูมชัดหลายภาพจะถายชุดภาพตอเนื่อง โดยระบบจะนําภาพ ดังกลาวมารวมเปนภาพหนึ่งภาพซึ่งจะทําใหถายภาพดวยอัตราการซูมภาพที่สูงขึ้นไดโดยไมทําใหคณ ุ ภาพ ของภาพเสียไป สําหรับรายละเอียดเกี่ยวกับระยะระดับการซูมคมชัดที่มีประสิทธิภาพ ดูที่หนา 53 ขั้นตอนตอไปนี้จ
การขยายชวงระยะการซูมเพื่อถายภาพนิ่งใหชัดเจนยิ่งขึน้ (ซูมชัดหลายภาพ) คุณลักษณะนี้จะใชเทคโนโลยีความละเอียดสูงมากและภาพชัตเตอรตอเนื่อง (ตอเนื่อง) หลายภาพเพื่อขยาย ชวงระยะการซูมเพื่อใหภาพทั้งหมดมีความชัดเจนและคุณภาพที่สูงขึ้น (หนา 54) 1. 2.
. การถายภาพโดยใชฟง กชันตอเนื่องความเร็วสูง เมื่อใชตอเนื่องความเร็วสูง กลองจะบันทึกภาพตอไปตราบเทาที่คณ ุ กดปุมชัตเตอร ตารางดานลางแสดงการตั้งคาที่สามารถกําหนดใหความเร็วชัตเตอร แบบตอเนื่องและจํานวนภาพตอการใชฟงกชันตอเนื่องความเร็วสูง ความเร็วชัตเตอรตอเนื่อง ความเร็วชัตเตอรตอเนื่อง 3 fps, 5 fps, 10 fps, 15 fps, 30 fps (ตอเนื่องเร็วสูง (fps)) fps = เฟรมตอวินาที ถายตอเนื่องสูงสุด 5, 10, 20, 30 ไอคอนตอเนือ่ งเร็วสูง ถายตอเนือ่ งสูงสุด 1. 2.
. การถายภาพดวยฟงกชันตอเนื่องที่กําหนดไวลวงหนา การกดปุมชัตเตอรลงครึ่งหนึ่งแลวกดคางไวจะทําใหบัฟเฟอรที่บันทึกลวงหนาไดรับการอัพเดตขอมูลภาพ อยูเรื่อยๆ เมื่อกดปุมชัตเตอรลงจนสุด ขอมูลบัฟเฟอรจะถูกบันทึกพรอมกับชุดภาพที่ถายตามเวลาจริง ใชฟงกชันตอเนื่องที่กําหนดไวลวงหนาหากคุณไมตองการพลาดการเคลื่อนที่อยางรวดเร็วของวัตถุตนแบบ กดปุมชัตเตอรลงครึง่ หนึง่ กดปุมชัตเตอรลงจนสุด ปลอยปุม ชัตเตอร ภาพที่บันทึก (ไดถึง 30 ภาพ) ภาพทีบ่ ันทึกลวงหนา การบันทึกภาพตอเนือ่ งจนกวาจะปลอย
10. กดปุม ชัตเตอรลงครึ่งหนึ่งคางไวเพื่อเริ่มการบันทึกภาพลวงหนา บัฟเฟอรที่บันทึกลวงหนาจะไดรับการอัพเดตขอมูลภาพอยางตอเนื่องตราบเทาที่กดปุมชัตเตอร • กลองจะไมมีเสียงชัตเตอรดังออกมาขณะที่มีการบันทึกภาพลวงหนา • การปลอยปุมชัตเตอรที่กดไวครึ่งหนึ่งจะทําใหเนื้อหาในบัฟเฟอรที่บันทึกไวลวงหนาถูกลบ 11.
การใชโฟกัสควบคุม คุณสามารถใชโฟกัสควบคุมเพื่อกําหนดกลองใหพื้นหลังเบลอ และโฟกัสเฉพาะวัตถุตนแบบที่อยูดานหนา (ภาพพื้นหลังเบลอ) หรือใหทุกอยางอยูในโฟกัส (All-In-Focus มาโคร) การถายภาพพื้นหลังเบลอ (พื้นหลังเบลอ) ฟงกชันนี้จะวิเคราะหชุดภาพที่ถายตอเนื่อง แลวทําพื้นหลังที่อยูดานหลังวัตถุตน แบบหลักใหเบลอ การดําเนินการลักษณะนี้จะสงผลใหวตั ถุตนแบบดูโดดเดน เชนเดียวกันกับภาพที่ถายดวยกลอง SLR (กลองระบบสะทอนภาพแบบเลนสเดี่ยว) ระดับการเบลอภาพสามารถกําหนดไดหนึ่งระดับจากทั้งหมด สามระดับ ถายโด
• กลองจะไมใชการตั้งคา “ซูมคมชัด” ปจจุบัน (หนา 54) เมื่อคุณถายภาพโดยใชฟงกชันนี้ • เมือ่ ใชฟงกชั่นนี้ การตั้งคาแฟลชจะเปลี่ยนเปน ? (ปดแฟลช) • การถายภาพดวยฟงกชันนี้จะตั้งคาระบบกันสั่นอัตโนมัติเปน “มาตรฐาน” (หนา 100) แตหากมีการสั่น ของกลองหรือวัตถุตนแบบมาก จะทําใหไมสามารถถายภาพไดผลตามที่ตองการ • ฉากนี้อาจไมสามารถใหผลตามที่ตองการได ทั้งนี้ขึ้นอยูกับสภาวะการถายภาพ การจัดองคประกอบภาพ และวัตถุตนแบบ • หากกลองกําหนดวาไมสามารถทําพื้นหลังของภาพใหมัวไดดวยเหตุผลบางอยาง ขอความ
• เมือ่ ถายภาพดวยฟงกชันนี้ การซูมจะถูกกําหนดเปนมุมกวาง • เมือ่ ถายภาพดวยฟงกชันนี้ การตั้งคาแฟลชจะเปลี่ยนเปน ? (ปดแฟลช) โดยอัตโนมัติ • การถายภาพดวยฟงกชันนี้จะตั้งคาระบบกันสั่นอัตโนมัติเปน “มาตรฐาน” (หนา 100) แตหากมีการสั่น ของกลองหรือวัตถุตนแบบมาก จะทําใหไมสามารถถายภาพไดผลตามที่ตองการ • ฉากนี้อาจไมสามารถใหผลตามที่ตองการได ทั้งนี้ขึ้นอยูกับสภาวะการถายภาพ การจัดองคประกอบภาพ และวัตถุตนแบบที่ถาย • ขอความ “การรวมภาพไมสําเร็จ” จะปรากฏขึ้นหากไมสามารถดําเนินการประมวลผล All-In-
1. 2. 3. 4. ปรับแปนหมุนเลือกโหมดใหตรงกับ [C] (ART SHOT) กดปุม [SET] ใชปุม [8] และ [2] เพื่อเลือก จากนั้น กดปุม [SET] เลือกฉาก ART SHOT ที่ตองการใช แลวกดปุม [SET] เลือกระหวาง: HDR ภาพศิลปะ, กลองของเลน, ภาพนวล, โทนสีออน, ปอบ, ซีเปย, ภาพขาวดํา, แบบจําลอง, ฟชอาย 5. 6. 7. 8.
. การใชหนาจอขอมูลฉาก ในการหารายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับฉาก ใหเลือกฉากที่ตองการโดยใชกรอบ บนเมนูฉาก จากนั้น หมุนตัวควบคุมการซูมไปยังทิศทางใดทางหนึ่ง • ในการกลับไปยังเมนูฉาก ใหหมุนตัวควบคุมการซูมอีกครั้ง • ในการเลื่อนไปมาระหวางฉาก ใชปุม [4] และ [6] • ในการกําหนดคากลองดวยการตั้งคาของฉากที่เลือกไวในปจจุบัน กดปุม [SET] • ทั้งนี้ขึ้นอยูกับฉาก “ART SHOT” บางรายการที่ปรากฏในเมนูอาจใชงานไมได • ในฉาก “ART SHOT” การตั้งคาแฟลชจะเปลี่ยนเปน ? (ปดแฟลช) โดยอัตโนมัติ • เมือ่ ใช HDR ภาพยนตรศิลปะ ก
การถายภาพโดยถายสามภาพ ถายภาพตอเนื่องสามภาพแลวบันทึกภาพไวในหนวยความจํา คุณสมบัตินี้ชวยใหคุณมัน่ ใจไดวาจะไมพลาด ชวงเวลาพิเศษเมื่อมีเด็กๆ อยูดวย 1. 2. ปรับแปนหมุนเลือกโหมดใหตรงกับ [D] (ถายสามภาพ) 3.
การบันทึกภาพเคลื่อนไหว การบันทึกภาพเคลือ่ นไหว ขั้นตอนตอไปนี้จะอธิบายถึงวิธีบันทึกภาพเคลื่อนไหวมาตรฐาน (STD) กลองตัวนี้สามารถรองรับการบันทึกภาพเคลื่อนไหวดวยฟงกชันอัตโนมัติแบบพิเศษ (หนา 66) ดูรายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับภาพเคลื่อนไหวไดจากหนาที่ระบุไวดานลาง ภาพเคลื่อนไหวความละเอียดสูง (ภาพเคลื่อนไหว FHD): หนา 68 ภาพเคลื่อนไหวความเร็วสูง (ภาพเคลื่อนไหว HS): หนา 68 แปนหมุนเลือกโหมด 1. ปรับแปนหมุนเลือกโหมดใหตรงกับ [P] (โปรแกรมอัตโนมัติ) หรือ [Ÿ] (อัตโนมัติแบบพิเศษ) 2. 3.
การบันทึกภาพเคลื่อนไหวดวยอัตโนมัติแบบพิเศษ เมื่อเปดใชอัตโนมัติแบบพิเศษ (หนา 28) กลองจะกำหนดวัตถุตนแบบ สภาวะการถายภาพ และพารามิเตอรตางๆ โดยอัตโนมัติ ผลที่ไดคอื ภาพ จะมีคณ ุ ภาพสูงกวาภาพที่ถา ยโดยใชฟงกชันโปรแกรมอัตโนมัติ สภาวะการถายภาพที่กลองตรวจพบจะปรากฏที่ดานลางของหนาจอโหมดบันทึกภาพ • ฟงกชันอัตโนมัติแบบพิเศษสามารถใชงานไดสําหรับภาพเคลื่อนไหว FHD และ STD เทานั้น • การบันทึกโดยใชอัตโนมัติแบบพิเศษจะทําใหพลังงานแบตเตอรี่หมดเร็วกวาการบันทึกแบบโปรแกรม อัตโนมัติ การถายภาพดวย BEST SHOT
• การบันทึกภาพเคลื่อนไหวเปนเวลานานจะทําใหกลองคอยๆ อุนขึ้นเมื่อสัมผัสตัวกลอง ซึ่งถือเปนปกติ ไมใชการบงชี้ถึงการทํางานผิดปกติแตอยางใด • การถายภาพเคลื่อนไหวเปนเวลานานในพื้นที่ที่มีอุณหภูมิสูงมากจะทําใหเกิดสัญญาณรบกวนดิจติ อล (จุดแสง) ปรากฏบนภาพเคลื่อนไหวได ทั้งนี้ อุณหภูมิภายในตัวกลองที่เพิ่มสูงขึ้นอาจทําใหการบันทึก ภาพเคลื่อนไหวหยุดลงโดยอัตโนมัติ หากเกิดเหตุการณดังกลาวขึ้น หยุดบันทึกภาพ แลวปลอยใหตัวกลอง เย็นลง ซึ่งจะทําใหกลองกลับสูภาวะการทํางานปกติ • การใชหนวยความจําภายในกลองหรือก
การบันทึกภาพเคลือ่ นไหวความละเอียดสูง กลองเครื่องนี้รองรับการบันทึกภาพเคลื่อนไหวความละเอียดสูง (FHD) อัตราสวนภาพของภาพเคลื่อนไหว FHD คือ 16:9 ขนาดภาพคือ 1920x1080 พิกเซล และอัตราการแสดงภาพคือ 30 fps การตั้งคาขนาดภาพ และคุณภาพของภาพจะเปลี่ยนแปลงไมได 1. 2. 3. 4. 5. 6.
4. 5. ใชปุม [8] และ [2] เพื่อเลือก “คุณภาพภาพเคลือ่ นไหว” จากนั้น กดปุม [6] ใชปุม [8] และ [2] เพื่อเลือกอัตราการแสดงภาพ (ความเร็วในการบันทึก) ที่คุณตองการ จากนั้น กดปุม [SET] อัตราการแสดงภาพแบบเร็ว (เชน 1000 fps) จะทําใหขนาดภาพเล็กลง คุณภาพภาพเคลื่อนไหว 6.
• เมือ่ อัตราการแสดงภาพสูงขึ้น (ความเร็ว) แสงไฟที่ใชในการถายภาพตองเพิ่มมากขึ้น เมื่อถาย ภาพเคลื่อนไหวความเร็วสูง ควรถายภาพดังกลาวในสถานที่ที่มีแสงสวางเพียงพอ • เมือ่ บันทึกภาพเคลื่อนไหวบางประเภท ภาพที่ปรากฏบนหนาจออาจมีขนาดเล็กกวาปกติ เมื่อบันทึก ภาพเคลื่อนไหวความเร็วสูง จะปรากฏแถบสีดําที่ดานบน ดานลาง ดานซาย และดานขวาของหนาจอ • เมือ่ บันทึกภาพเคลื่อนไหวความเร็วสูง การกะพริบของแสงไฟจะทําใหมีแถบแนวนอนปรากฏขึ้นในภาพ ซึ่งไมใชการบงชี้การทํางานผิดปกติของกลองแตอยางใด • การเปลี่ยนรายละเอียดบนห
6. 7. 8. กดปุม [SET] ใชปุม [8] และ [2] เพื่อเลือก จากนั้น กดปุม [SET] ใชปุม [8], [2], [4] และ [6] เพื่อเลือกฉาก “บันทึกลวงหนา (ภาพเคลื่อนไหว)” จากนั้น กดปุม [SET] การดําเนินการดังกลาวจะทําใหสัญลักษณ ‰ (บันทึกลวงหนา) ปรากฏบนหนาจอ ซึ่งเปน การบงบอกวากลองกําลังบันทึกภาพลวงหนาลงในบัฟเฟอร . การถายภาพเคลื่อนไหวที่บันทึกลวงหนา 1. เมื่อใชขนั้ ตอนขางตนในการตั้งคากลองสําหรับโหมดภาพเคลือ่ นไหวที่บันทึกลวงหนาแลว เล็งกลองไปที่วัตถุตนแบบ 2.
การบันทึกภาพเคลือ่ นไหว YouTube (สําหรับ YouTube) ฉาก “YouTube” จะบันทึกภาพเคลื่อนไหวในรูปแบบที่ดีที่สุดตอการอัพโหลดไปไวที่เว็บไซตภาพเคลื่อนไหว YouTube ซึ่งดําเนินการโดยบริษัท YouTube, LLC “YouTube” สามารถใชไดเมื่อถายภาพเคลื่อนไหว มาตรฐาน (STD) ภาพเคลื่อนไหวความละเอียดสูง (FHD) หรือภาพเคลื่อนไหวความเร็วสูง (HS) 1. 2. 3. 4. 5. ปรับแปนหมุนเลือกโหมดใหตรงกับ [b] (BEST SHOT) 6. 7. 8. กดปุม [SET] 9.
การถายภาพนิ่งขณะที่ถายภาพเคลื่อนไหว (ภาพนิ่งในภาพเคลือ่ นไหว) คุณสามารถถายภาพนิ่งในขณะบันทึกภาพเคลื่อนไหวได เมื่อกลองอยูในโหมดภาพเดียว คุณสามารถถาย ภาพนิ่งไดทีละภาพ เมื่อกลองอยูในโหมดตอเนื่อง การกดปุมชัตเตอรคา งไวจะทําใหกลองบันทึกภาพตอเนื่อง ไดถึงเจ็ดภาพดวยความเร็ว 10 ภาพตอวินาที (fps) โดยประมาณ คุณสามารถถายภาพไดเปนจํานวนทั้งหมด ไมเกิน 28 ภาพในขณะใชฟงกชันบันทึกภาพเคลื่อนไหวหนึ่งไฟล 1.
การใช BEST SHOT BEST SHOT จะมีชุด “ฉาก” ตัวอยาง ซึ่งจะแสดงสภาวะการถายภาพแบบตางๆ มากมาย เมื่อคุณตองเปลี่ยน การตั้งคากลอง คุณสามารถคนหาฉากที่ตรงกับภาพที่คุณจะถาย จากนั้น กลองจะตั้งคาดังกลาวโดยอัตโนมัติ จะชวยลดโอกาสที่ภาพเสียหายเนื่องจากการตั้งคาความเร็วชัตเตอรและคาชดเชยแสงไมดี . ฉากตัวอยาง ภาพบุคคล ภาพทิวทัศนกลางคืนดวย ภาพบุคคลและทิวทัศนกลางคืน ความเร็วสูง ความเร็วสูง ภาพทิวทัศน การถายภาพดวย BEST SHOT 1. ปรับแปนหมุนเลือกโหมดใหตรงกับ [b] (BEST SHOT) 2. 3.
5. กดปุม [SET] เพื่อกําหนดคากลองดวยการตั้งคาของฉากที่เลือกไวในปจจุบนั 6. กดปุม ชัตเตอร (หากคุณกําลังถายภาพนิ่ง) หรือปุม [0] (ภาพเคลื่อนไหว) (หากคุณกําลัง ถายภาพเคลื่อนไหว) .
การสรางและการใชการตั้งคาของคุณเอง (CUSTOM SHOT) คุณสามารถบันทึกการตั้งคาตางๆ ไดถึง 999 รายการ โดยยึดจากภาพนิ่งที่ถายดวยกลองเปนฉาก “CUSTOM SHOT” การเลือกฉาก “CUSTOM SHOT” ที่บันทึกไวจะกําหนดคากลองดวยการตั้งคานี้ การตั้งคาของภาพนิ่ง ที่บันทึกดวยโหมดและคุณสมบัตติ อไปนี้สามารถบันทึกเปนฉาก CUSTOM SHOT ได • โปรแกรมอัตโนมัติ • โหมด A • โหมด S • โหมด M • BEST SHOT (ไมรวม “บันทึกลวงหนา (ภาพเคลื่อนไหว)”, “YouTube” และ “สงสัญญาณ HDMI TV”) . การบันทึกฉาก CUSTOM SHOT 1.
การบันทึกดวยฉาก CUSTOM SHOT ที่บันทึกไว . 1. 2. 3. 4. 5.
การถายภาพที่สวางในที่มืดโดยไมใชแฟลช (การถายภาพกลางคืนความเร็วสูง) กลองจะทําการถายภาพชุดแลวนําภาพชุดดังกลาวมารวมกันเปนภาพถายหนึ่งภาพ ภาพที่ไดจะสวาง แมจะถายในที่มืดโดยไมใชแฟลชก็ตาม ถายดวย “โปรแกรมอัตโนมัติ” ไมใชแฟลช 1. 2. 3. 4. 5.
การถายภาพโดยใชมุมการถายภาพแบบซูเปอรไวด (ภาพระยะกวาง) เมื่อใชคุณลักษณะนี้ กลองจะถายภาพหลายภาพ แลวนําภาพมารวมกันเพื่อสรางภาพหนึ่งภาพที่มีมุมภาพ กวางเปนพิเศษ ซึ่งจะมากกวาระยะมุมกวางสูงสุดของเลนส เมื่อแปลงใหเทียบเทากับเลนส 35 มม. ระยะโฟกัสที่ใชไดกับคุณลักษณะนี้จะทําใหถายภาพโดยใชมุมกลอง 14 มม. และ 18 มม. โดยประมาณ 24 มม. (มุมกวางสุดของเลนส) 18 มม. 14 มม. 1. 2. 3. 4. 5. ปรับแปนหมุนเลือกโหมดใหตรงกับ [b] (BEST SHOT) 6.
8. เล็งกลองไปที่วัตถุตนแบบที่คณ ุ ตองการใหอยูกึ่งกลางภาพ แลวกด ปุม ชัตเตอรลงครึ่งหนึ่งเพื่อโฟกัสภาพ • กรอบสีฟา ดานนอกบนจอภาพแสดงระยะ ที่สามารถบันทึกภาพได ภาพที่ตองการ กรอบสีฟา สวนกึ่งกลางภาพในขั้นตอนเริ่มตนของการถายภาพ 9.
• มุมกลอง “14 มม.” และ “18 มม.” เปนคาโดยประมาณ และใชเปนขอมูลอางอิงเทานั้น ซึ่งจะไมรับประกัน คามุมกลองตามจริง • การซูมจะใชไมไดในขณะที่ถายภาพดวยฟงกชันภาพมุมกวาง การตั้งคาซูมจะถูกกําหนดตายตัวที่มุมกวาง สุด • ฟงกชันนี้จะทําใหถายภาพที่มีมุมกลองสูงสุด 14 มม. หรือ 18 มม.
การถายภาพพาโนรามา (ถายภาพพาโนรามา) เมื่อใชฟงกชันสไลดพาโนรามา คุณสามารถขยับกลองเพื่อจัดองคประกอบภาพและบันทึกภาพไดหลายภาพ ซึ่งภาพเหลานั้นจะถูกนํามารวมเปนภาพพาโนรามา ฟงกชันนี้จะชวยในการถายภาพพาโนรามาไดกวางถึง 360 องศา ซึ่งถายไดไกลกวาที่เลนสปกติในตัวกลองจะทําได • ขนาดของภาพพาโนรามาในขั้นสุดทายสามารถกําหนดไดหนึ่งคาจากสองขนาดตามที่แสดงดานลาง ทิศทางถายภาพจากขวาหรือซาย: สูงสุด 11520x1080 พิกเซล ทิศทางถายภาพกลองจากบนหรือลาง: สูงสุด 1920x7296 พิกเซล • การซูมจะใชไมไดในขณะที่ถายภาพ
8. กดปุม ชัตเตอรจากที่คา งไวลงจนสุด แลวเคอรเซอรสไลด จะปรากฏบนหนาจอ คอยๆ ขยับกลองไปตามทิศทางที่กํากับไว ดวยลูกศรบนหนาจอ จนเคอรเซอรสไลดวิ่งไปถึงสุดขอบของ ระยะการขยับกลอง (เชน ไปทางขวาจนสุดเมื่อขยับกลอง ไปทางขวา) • กลองจะเริ่มจัดองคประกอบภาพพาโนรามาภายในเมื่อเคอรเซอร สไลดวิ่งไปจนสุดขอบของระยะการขยับกลอง • ทั้งนี้ การจัดองคประกอบภาพจะเริ่มขึ้นเองโดยอัตโนมัติหากคุณหยุด การขยับกลองในขณะถายภาพพาโนรามา เมื่อหยุดขยับกลอง ขอความ “กําลังทํางาน... โปรดรอ...
การถายภาพโดยใหลําดับความสําคัญที่ใบหนาของวัตถุตนแบบ (เลือกภาพที่ดีที่สุดดวยความเร็วสูง) เมื่อใชฟงกชันเลือกภาพที่ดีที่สุดดวยความเร็วสูง กลองจะถายภาพเปนชุดโดยอัตโนมัติ และจะเลือกภาพที่ดี ที่สุด โดยจะยึดจากความเบลอของภาพใบหนาและการแสดงความรูสึกของใบหนา (วาวัตถุตนแบบกําลังยิ้ม หรือกะพริบตา) 1. 2. 3. 4. 5.
การกําหนดคากลองเพื่อชวยปรับเวลาถายภาพใหเหมาะสมขึน้ (แกไขเวลาหนวง) เวลาหนวงระหวางจุดที่คุณกดปุมชัตเตอรกับจุดที่ภาพถูกบันทึกจริงๆ ซึ่งไมสามารถหลีกเลี่ยงไดมักจะเกิดขึ้น เสมอ คุณลักษณะ “แกไขเวลาหนวง” จะชวยใหคุณกำหนดคากลองใหลดหรือแมแตขจัดเวลาหนวงดังกลาว เพื่อชวยใหคณ ุ วางจังหวะการถายภาพใหเหมาะสมขึ้น ซึ่งจะทําใหไดชวงเวลาที่คณ ุ ตองการอยางถูกตอง เมื่อใช “แกไขเวลาหนวง” คุณจะตองกดปุมชัตเตอรลงครึ่งหนึ่ง แลวจัดองคประกอบภาพที่ตองการถาย จากนั้น เมื่อคุณกดปุมชัตเตอรจากที่เหลื
8. ใชปุม [4] และ [6] เพือ่ เลือ่ นไปตามภาพที่บนั ทึกลวงหนาบนหนาจอ ใชปุม [4] และ [6] เพื่อเลื่อนไปมาระหวางภาพที่ถูกบันทึกไวลวงหนา ภาพแตละภาพจะปรากฏขึ้น พรอมกับการแสดงเวลาที่ถูกบันทึกไวลวงหนา –0.4 sec. * –0.3 sec. (0.4*) (0.3*) วินาทีกอนที่จะกดปุมชัตเตอรลงจนสุด –0.2 sec. –0.1 sec. SHUTTER (0.2*) (0.
การใชชัตเตอรตอเนื่องกับโฟกัสอัตโนมัติ (AF ตอเนื่อง) ฟงกชัน AF ตอเนื่องจะถายภาพตอเนื่อง 30 ภาพขณะที่วัตถุตนแบบอยูในโฟกัส คุณลักษณะนี้จะเปนประโยชน เมื่อถายภาพเด็กเล็กๆ และวัตถุตนแบบที่เคลื่อนที่อยางรวดเร็ว ความเร็วชัตเตอรตอเนื่องจะถูกปรับอัตโนมัติ ตามสภาวะการถายภาพภายในชวงสามถึงหกภาพตอวินาที 1. 2. 3. 4. 5.
การถายภาพโดยใชความเร็วสูงกันสั่น (กันสั่นดวยความเร็วสูง) เมื่อคุณกดปุมชัตเตอรขณะที่เปดใชฟงกชันความเร็วสูงกันสั่น กลองจะบันทึกภาพหลายๆ ภาพ และจะนําภาพ เหลานั้นมารวมเขาดวยกันโดยอัตโนมัติ โดยจะสรางภาพขึ้นมาใหมโดยจะเกิดความเบลอนอยที่สุด คุณสามารถ ถายภาพโดยใชคุณลักษณะนี้เพื่อลดผลกระทบที่เกิดจากการขยับกลองเมื่อถายภาพโดยใชระบบกันสั่นแลว ยังไมทําใหไดภาพที่พึงพอใจ 1. 2. 3. 4.
การถายภาพนิ่ง (ภาพนิง่ ) ฟงกชันนี้จะปรับคาแสง แลวถายภาพทุกครั้งที่กดปุมชัตเตอรลงครึ่งหนึ่ง ซึ่งจะชวยใหมั่นใจไดวา คุณไมได พลาดภาพถายที่คุณตองการ คุณลักษณะนี้จะเปนประโยชนตอ การถายภาพในชีวิตประจําวันและเมื่อถาย ภาพทิวทัศน 1. 2. 3. 4. 5. ปรับแปนหมุนเลือกโหมดใหตรงกับ [b] (BEST SHOT) กดปุม [SET] ใชปุม [8] และ [2] เพื่อเลือก จากนั้น กดปุม [SET] เลือก “ภาพนิ่ง” แลวกดปุม [SET] กดปุม ชัตเตอรลงครึ่งหนึ่ง จะเปนการปรับคาแสงและถายภาพนิ่ง • ซึ่งจะทําใหคาระยะการแพนโฟกัส (PF –o.
การใชหนาจอโทรทัศนเพื่อถายภาพนิ่ง (สงสัญญาณ HDMI TV) ใชขั้นตอนตอไปนี้เพื่อกําหนดคากลองสําหรับการถายภาพนิ่งที่มีอัตราสวนภาพ 16:9 เมื่อคุณ จัดองคประกอบภาพบนหนาจอโทรทัศน 1. ปดกลอง แลวใชสายสัญญาณ HDMI ที่มีจําหนายทั่วไปเชื่อมตอกลองกับโทรทัศน หัวเสียบ HDMI ชองรับสัญญาณ HDMI ชองสงสัญญาณ HDMI (มิน)ิ สายสัญญาณ HDMI (มีจําหนายทัว่ ไป) หัวเสียบ HDMI แบบหัวเล็ก 2. 3. 4. 5. 6. เปดกลอง 7.
• สําหรับรายละเอียดเกี่ยวกับการเชื่อมตอกลองและขอควรระวังเมื่อทําการเชื่อมตอ โปรดดูหนา 118 • หากคุณตองการเปลี่ยนแปลงรูปแบบสัญญาณวิดีโอดิจิตอล ใหถอดสายสัญญาณ HDMI ออกจากกลองกอน (หนา 119) • การตั้งคาในตารางดานลางจะเปนคาตายตัวเมื่อถายดวยฟงกชันนี้ ขนาดภาพ 16:9 พื้นที่ AF เฉพาะจุด ตอเนื่อง AF ปด คนหาใบหนา ปด ระดับการแตงหนา 0 (ปด) สมดุลแสงสีขาว WB อัตโนมัติ วัดแสง เฉลี่ย 91 การใช BEST SHOT
การตั้งคาขั้นสูง (REC MENU) รายการตอไปนี้จะเปนการทํางานของเมนูที่คุณสามารถใชกําหนดการตัง้ คาตางๆ ของกลองได • คุณยังสามารถใชแผงควบคุม (หนา 38) เพื่อกําหนดการตั้งคาบางอยางที่ปรากฏบนหนาจอเมนูได สําหรับขอมูลเกี่ยวกับการกําหนดการตั้งคาโดยใชแผงควบคุม โปรดดูตามเลขหนาอางอิงที่ระบุไวในบทนี้ การกําหนดการตั้งคาบันทึก . ตัวอยางการทํางานของหนาจอเมนู 1. ในโหมดบันทึกภาพ กดปุม [MENU] 2. กดปุม [4] แลวใช [8] และ [2] เพื่อเลือกแท็บที่มี รายการเมนูที่คุณตองการกําหนดคา จากนั้น กดปุม [6] 3.
. การทํางานของเมนูในคูมอื เลมนี้ การทํางานของเมนูไดอธิบายไวในคูม ือเลมนี้ตามที่แสดงไวดานลาง การทํางานตอไปนี้เปนแบบเดียวกัน กับที่อธิบายไวใน “ตัวอยางการทํางานของหนาจอเมนู” หนา 92 กดปุม [4] แลวใชปมุ [8] และ [2] เพื่อเลือกแท็บ “r REC MENU” จากนัน้ กดปุม [SET] เขาสูโหมดบันทึกภาพ * ตั้งเวลาถาย [MENU] * แท็บ “r REC MENU” * กดปุม [MENU] ใชปุม [8] และ [2] เพื่อเลือก “ตั้งเวลาถาย” จากนั้น กดปุม [6] การกําหนดฟงกชันใหกับปุม [4] และ [6] (คียซาย/ขวา) เขาสูโหมดบันทึกภาพ * [MEN
การบันทึกภาพถายปกติภาพที่สองเมื่อถายภาพโดยใช HDR ภาพศิลปะ (ซ้ํา (HDR ภาพศิลปะ)) เขาสูโหมดบันทึกภาพ * [MENU] * แท็บ “r REC MENU” * ซ้ํา (HDR ภาพศิลปะ) ดูรายละเอียดไดที่หนา 63 การเลือกขนาดภาพนิ่ง (ขนาดภาพ) เขาสูโหมดบันทึกภาพ * [MENU] * แท็บ “r REC MENU” * ขนาดภาพ ขนาดภาพ (พิกเซล) ไอคอนที่แสดง การใชงานและ บนหนาจอ ขนาดพิมพ บันทึกภาพ ที่แนะนํา คําอธิบาย 16M (4608x3456) โปสเตอร 3:2 (4608x3072) โปสเตอร 16:9 (4608x2592) HDTV 10M (3648x2736) โปสเตอร 5M (2560x1920) พิมพ A4 3M (2048x1536)
• คุณควรพิจารณาเอาขนาดกระดาษพิมพที่แนะนําในที่นี้เปนหลักเทานั้น (ความละเอียดภาพพิมพ 200 dpi) • ขนาดภาพที่เลือกใชไดจะถูกจํากัดไวสําหรับฟงกชันบางฟงกชันที่ระบุไวดานลางนี้ .
การกําหนดคุณภาพของภาพนิ่ง (คุณภาพภาพนิง่ ) เขาสูโหมดบันทึกภาพ * [MENU] * แท็บ “r REC MENU” * คุณภาพภาพนิ่ง การตั้งคา ไอคอนที่แสดงบน หนาจอบันทึกภาพ คําอธิบาย ละเอียด ใหลําดับความสําคัญตอคุณภาพของภาพ ปกติ ปกติ • การตั้งคา “ละเอียด” จะชวยในการแสดงรายละเอียดเมื่อถายภาพธรรมชาติที่มีรายละเอียดของภาพมาก ซึ่งจะรวมไปถึงกิ่งกานสาขาหรือใบไมของตนไมที่หนาแนน หรือภาพที่มีลวดลายซับซอน • การตั้งคาคุณภาพที่กําหนดคาไวจะมีผลตอความจุของหนวยความจํา (จํานวนภาพที่สามารถบันทึกได) (หนา 191) การตั้งคาค
การตั้งคา (คุณภาพ (พิกเซล)) ไอคอนที่แสดง อัตราการสงขอมูล บนหนาจอ โดยประมาณ บันทึกภาพ (อัตราการแสดงภาพ) STD 3.9 เมกะบิต/วินาที (30 เฟรม/วินาที) HS1000 40.0 เมกะบิต/วินาที (1000 เฟรม/วินาที) HS480 40.0 เมกะบิต/วินาที (480 เฟรม/วินาที) HS240 40.0 เมกะบิต/วินาที (240 เฟรม/วินาที) HS120 40.0 เมกะบิต/วินาที (120 เฟรม/วินาที) HS30-240 5.4 เมกะบิต/วินาที (30 เฟรม/วินาที) 40.4 เมกะบิต/วินาที (240 เฟรม/วินาที) HS30-120 10.4 เมกะบิต/วินาที (30 เฟรม/วินาที) 40.
การกําหนดคาสูงสุดสําหรับความไวแสง (ISO สูงสุด) เขาสูโหมดบันทึกภาพ * [MENU] * แท็บ “r REC MENU” * ISO สูงสุด การตั้งคา อัตโนมัติ ไอคอนที่แสดง บนหนาจอ คําอธิบาย บันทึกภาพ ไมมี ถายภาพโดยใชการตัง้ คาความไวแสงที่กําหนดดวยคา “ความไวแสง” (หนา 45) ISO 200 ISO 400 ISO 800 ISO 1600 การตั้งคาที่เลือกไวในที่นี้จะเปลี่ยนเปนคาสูงสุดสําหรับความไวแสง เมื่อเลือก “อัตโนมัติ” ไวสําหรับการตั้งคา “ความไวแสง” (หนา 45) ISO 3200 • เมือ่ การตั้งคา “ความไวแสง” (หนา 45) เปนคาอื่นที่ไมใช “อัตโนมัติ” กลอ
การซูมโดยใชความละเอียดสูง (ซูมคมชัด) เขาสูโหมดบันทึกภาพ * [MENU] * แท็บ “r REC MENU” * ซูมคมชัด ดูรายละเอียดไดที่หนา 54 การกําหนดพื้นที่โฟกัสอัตโนมัติ (พื้นที่ AF) เขาสูโหมดบันทึกภาพ * [MENU] * แท็บ “r REC MENU” * พื้นที่ AF คุณสามารถใชขั้นตอนตอไปนี้ในการเปลี่ยนพื้นที่วดั โฟกัสอัตโนมัติสําหรับถายภาพนิ่งได • เมือ่ บันทึกภาพเคลื่อนไหว พื้นที่วัดแสง AF จะเป็น “U เฉพาะจุด” ทุกครั้ง การตั้งคา คําอธิบาย š อัจฉริยะ กลองจะกําหนดจุดโฟกัสบนหนาจอโดยอัตโนมัติ แลวโฟกัสตรงจุดโฟกัสดังกลาว (อัจฉริยะ AF)
• สําหรับฉาก BEST SHOT บางฉาก จะมีขอจํากัดการใชการตั้งคาพื้นที่ AF ขอจํากัดดังกลาว ทําใหคาบางคา อาจใชการไมไดหรือคุณอาจไมสามารถกําหนดคาพื้นที่ AF • เมือ่ เปดฟงกชันคนหาใบหนา (หนา 102) ไมวาจะใชการตั้งคาพื้นที่ AF หรือไมก็ตาม กลองจะใชการโฟกัส “U เฉพาะจุด” (กลางภาพ) โดยอัตโนมัติทุกครั้งที่ไมพบใบหนาดวยสาเหตุใดก็ตาม การลดผลกระทบจากการเคลื่อนที่ของวัตถุตนแบบและการขยับกลอง (กันสั่น) เขาสูโหมดบันทึกภาพ * [MENU] * แท็บ “r REC MENU” * กันสั่น คุณสามารถเปดฟงกชันกันสั่นของกลองเพื่อลด
• เฉพาะระบบกันสั่นเทานั้นที่สามารถใชไดในขณะที่บันทึกภาพเคลื่อนไหว FHD และ STD • ระบบกันสั่นจะใชไมไดขณะบันทึกภาพเคลื่อนไหวความเร็วสูงหรือ HDR ภาพยนตรศิลปะ • เมือ่ เปดใชงานกันสัน่ และเลือก “อัตโนมัติ” ไวสําหรับ “ความไวแสง” (หนา 45), คาความไวแสง, รูรับแสง, และความเร็วชัตเตอรจะไมปรากฏบนหนาจอเมื่อกดปุมชัตเตอรลงครึ่งหนึ่ง คาดังกลาวจะปรากฏบนหนาจอ การแสดงผลภาพทันทีที่ถายภาพเสร็จ • การถายภาพโดยเปดใชฟงกชันกันสั่นจะทําใหภาพดูหยาบกวาปกติ และอาจทําใหความละเอียดภาพ เสียไปเล็กนอย • ฟงกชันกั
การถายภาพโดยใชโฟกัสอัตโนมัติตอเนื่อง (ตอเนื่อง AF) เขาสูโหมดบันทึกภาพ * [MENU] * แท็บ “r REC MENU” * ตอเนื่อง AF เมื่อถายภาพนิ่งโดยที่เลือกคา “เปด” สําหรับฟงกชันตอเนื่อง AF ไว โฟกัสอัตโนมัติจะทํางานและจะปรับ การโฟกัสเรื่อยๆ จนกวาคุณจะกดปุมชัตเตอรลงครึ่งหนึ่ง • กอนที่คุณจะกดปุมชัตเตอรลงครึ่งหนึ่ง กลองจะโฟกัสที่กึ่งกลางของหนาจอ การถายภาพโดยใชฟงกชันคนหาใบหนา (คนหาใบหนา) เขาสูโหมดบันทึกภาพ * [MENU] * แท็บ “r REC MENU” * คนหาใบหนา เมื่อจะถายภาพบุคคล คุณลักษณะคนหาใบหนาจะตรวจจ
• ฟงกชันคนหาใบหนาไมสามารถใชรวมกับคุณลักษณะอื่นๆ ตอไปนี้ได – ฉาก BEST SHOT บางฉาก – โหมดภาพเคลื่อนไหว (รวมฉาก BEST SHOT บางฉากที่ใชการบันทึกภาพเคลื่อนไหวความเร็วสูงได) – ตอเนื่องความเร็วสูงกับตอเนื่องที่กําหนดไวลวงหนา (รวมฉาก BEST SHOT บางฉากที่ใชการบันทึก ตอเนื่องเร็วสูงได) • การตั้งคา “โฟกัส” จะถูกกําหนดเปน “AF” (โฟกัสอัตโนมัติ) ทุกครั้งที่ใชฟงกชัน “คนหาใบหนา” หากตองการเปลี่ยนการตั้งคา “โฟกัส” ใหเลือก “ปด” สําหรับ “คนหาใบหนา” เปนอันดับแรก การเปดหรือปดฟงกชันซูมดิจิตอล (
การแกไขความสวางภาพ (ชดเชยแสง) เขาสูโหมดบันทึกภาพ * [MENU] * แท็บ “r REC MENU” * ชดเชยแสง สําหรับรายละเอียด โปรดดูไดจากขัน้ ตอนของแผงควบคุมในหนา 47 การปรับสมดุลแสงสีขาว (สมดุลแสงสีขาว) เขาสูโหมดบันทึกภาพ * [MENU] * แท็บ “r REC MENU” * สมดุลแสงสีขาว สําหรับรายละเอียด โปรดดูไดจากขัน้ ตอนของแผงควบคุมในหนา 40 การเลือกโหมดโฟกัส (โฟกัส) เขาสูโหมดบันทึกภาพ * [MENU] * แท็บ “r REC MENU” * โฟกัส สําหรับรายละเอียด โปรดดูไดจากขัน้ ตอนของแผงควบคุมในหนา 42 การใชฟงกชันตั้งเวลาถาย (ตั้งเวลาถาย) เขาสู
การกําหนดความแรงแฟลช (ความแรงแฟลช) เขาสูโหมดบันทึกภาพ * [MENU] * แท็บ “r REC MENU” * ความแรงแฟลช คุณสามารถกําหนดความแรงแฟลชไดหนึ่งระดับจากหาระดับ ตั้งแต +2 (สวางมากที่สุด) ถึง –2 (สวางนอยที่สุด) • ความแรงแฟลชอาจไมเปลี่ยนเมื่อวัตถุตนแบบอยูหางเกินไปหรืออยูใกลเกินไป การควบคุมความคมชัดของภาพ (ความคมชัด) เขาสูโหมดบันทึกภาพ * [MENU] * แท็บ “r REC MENU” * ความคมชัด คุณสามารถกําหนดคาหนึง่ คาจากการตัง้ คาความคมชัดหาคาจาก +2 (คมชัดมากที่สดุ ) ถึง –2 (คมชัดนอยที่สดุ ) การควบคุมความอิ่มสี (ความอ
การใชฟงกชันไฟนําโฟกัสอัตโนมัติ (ไฟนํา AF) เขาสูโหมดบันทึกภาพ * [MENU] * แท็บ “r REC MENU” * ไฟนํา AF การกดปุมชัตเตอรลงครึ่งหนึ่งเมื่อเลือกการตั้งคานี้จะทําใหไฟหนาสวางขึน้ ซึ่งจะใหแสงสวางในการโฟกัสในพื้นที่ที่มีแสงไฟสลัว เมื่อจะถายภาพบุคคล ในระยะใกล ขอแนะนําใหออกจากฟงกชันนี้โดยปดการใชงานกอน ฯลฯ ไฟหนา • หามมองตรงไปที่ไฟหนาในขณะที่ไฟสวาง • นิ้วมือของคุณตองไมบังไฟหนา การแสดงตารางหนาจอ (ตาราง) เขาสูโหมดบันทึกภาพ * [MENU] * แท็บ “r REC MENU” * ตาราง ตารางหนาจอสามารถเรียกแสดงบนหน
การเปดการตรวจสอบภาพ (ตรวจสอบ) เขาสูโหมดบันทึกภาพ * [MENU] * แท็บ “r REC MENU” * ตรวจสอบ ขณะที่เปดใชงานตรวจสอบภาพ กลองจะแสดงภาพเปนเวลาประมาณหนึ่งวินาทีทันทีหลังจากที่บันทึกภาพแลว ชนิด 1 แสดงภาพโดยใชมุมมองภาพแบบเต็มหนาจอ ชนิด 2, ชนิด 3 แสดงภาพโดยใชมุมมองภาพแบบหนาจอบางสวน ความแตกตางระหวางชนิด 2 และชนิด 3 คือวิธีการแสดงภาพบนจอแสดงผล ปด ปดการแสดงผลตรวจสอบภาพ • เมือ่ ถายภาพดวยฟงกชันบางฟงกชันโดยเลือก “ชนิด 1” ไวสําหรับ “ตรวจสอบ” จะทําใหขอ ความ “กําลังทํางาน... โปรดรอ...
การกําหนดการตั้งคาเปดเครื่องแรกเริ่ม (หนวยความจํา) เขาสูโหมดบันทึกภาพ * [MENU] * แท็บ “r REC MENU” * หนวยความจํา การตั้งคานี้จะชวยใหคุณกําหนดวาการตั้งคากลองคาใดที่กลองควรจําไวหลังจากปดเครื่อง และเรียกใชคา เหลานั้นในครั้งตอไปที่เปดเครื่อง ในการกําหนดใหกลองจําการตั้งคา คุณควรเปดใชหนวยความจําในการตั้งคา กอน การตั้งคาใดๆ ที่หนวยความจําถูกยกเลิกใชงานจะถูกรีเซ็ตคากลับเปนคาแรกเริ่มทุกครั้งที่ปดกลอง การตั้งคา ไมใชงาน (การตั้งคาแรกเริ่ม) ตอเนื่องเร็วสูง ปด แฟลช อัตโนมั
การดูภาพนิ่งและภาพเคลื่อนไหว การดูภาพนิ่ง ดูขนั้ ตอนในการดูภาพนิ่งไดที่หนา 32 การดูภาพเคลื่อนไหว 1. กดปุม [p] (เลนภาพ) จากนั้น ใชปมุ [4] และ [6] เพื่อแสดงภาพเคลื่อนไหวที่คณ ุ ตองการดู 2.
• ภาพเคลื่อนไหวที่ไมไดบันทึกดวยกลองเครื่องนี้จะไมสามารถเลนกับกลองได • ภาพเคลือ่ นไหวที่หมุนภาพโดยใช “การหมุน” (หนา 129) หรือ “หมุนอัตโนมัติ” (หนา 158) จะซูมไมได การดูภาพพาโนรามา 1. กดปุม [p] (เลนภาพ) จากนั้น ใชปมุ [4] และ [6] เพื่อแสดงภาพพาโนรามาที่คณ ุ ตองการดู 2.
การดูภาพที่ถายดวยฟงกชันชัตเตอรตอเนื่อง ทุกครั้งที่คณ ุ ใชฟงกชันชัตเตอรตอ เนื่อง (ตอเนื่อง) กลองจะสรางกลุมตอเนื่องขึ้น ซึ่งภายในกลุมดังกลาว จะประกอบไปดวยภาพทั้งหมดที่ถายไวในชวงของกลุมตอเนื่องนั้น คุณสามารถใชขั้นตอนตอไปนี้ ในการเลนภาพที่อยูในกลุมตอเนื่องนั้นได 1. กดปุม [p] (เลนภาพ) จากนั้น ใชปมุ [4] และ [6] เพื่อแสดงกลุม ตอเนื่องที่มีภาพซึ่งคุณ ตองการจะดู จํานวนไฟลภาพในกลุมตอเนือ่ ง ไอคอนกลุมตอเนื่อง ภาพแรกในกลุมตอเนื่อง 2.
การทํางานที่รองรับหลังจากกดปุม [SET] เพื่อเริ่มเลนภาพ มีดังตอไปนี้ [ 4 ] [6 ] ขณะแสดงภาพ กลองจะเปลี่ยนความเร็วและทิศทางในการแสดงภาพ ขณะที่พักการแสดงภาพไวชั่วคราว กลองจะเลื่อนไปขางหนาหรือยอนกลับ • คุณไมสามารถปรับความเร็วในการเลนภาพไดหากหนาจอซูมภาพที่เเสดงอยู [SET] สลับระหวางเลนกับพักการเลนชั่วคราว ตัวควบคุม การซูม ซูมภาพ • คุณสามารถใชปุม [8], [2], [4] และ [6] เพื่อเลื่อนไปตามภาพที่ซูมบนหนาจอ • การหมุนตัวควบคุมการซูมไปที่ w (]) โดยที่ยังไมซูมภาพจะเปนการแสดง เมนูภาพในกลุมตอเนื่องขณ
. 1. การลบไฟลหลายไฟลในกลุมตอเนื่อง กดปุม [2] ขณะที่กลองกําลังเลนภาพตอเนื่องหรือพักการเลนไว (สลับไปมาโดยกดปุม [SET]) กลองจะแสดงเมนู “แกไขกรอบตอเนื่อง” 2. 3. ใชปุม [8] และ [2] เพื่อเลือก “ลบ” จากนั้น กดปุม [SET] 4.
การแบงยอยกลุมตอเนื่อง ใชขั้นตอนตอไปนี้ในการแยกยอยภาพในกลุมตอเนื่องออกเปนภาพเฉพาะ . 1. 2. 3. 4. 5. 6. .
การคัดลอกภาพในกลุมตอเนื่อง ดําเนินการตามขั้นตอนตอไปนี้ในการคัดลอกภาพจากกลุมตอเนื่องไปเก็บไวที่อื่นภายนอกกลุม 1. กดปุม [2] ขณะที่กลองกําลังเลนภาพตอเนื่องหรือพักการเลนไว (สลับไปมาโดยกดปุม [SET]) กลองจะแสดงเมนู “แกไขกรอบตอเนื่อง” 2. 3. 4.
การซูมภาพบนหนาจอ 1. ในโหมดเลนภาพ ใชปมุ [4] และ [6] เพื่อเลื่อนไปตามภาพจนกวาภาพที่ตองการปรากฏบน หนาจอ 2.
การดูภาพนิ่งและภาพเคลือ่ นไหวบนหนาจอโทรทัศน 1.
• เสียงจะเปนระบบสเตอริโอ • โทรทัศนบางเครื่องอาจไมสามารถสงสัญญาณภาพและ/หรือเสียงไดอยางถูกตอง • ไอคอนและสัญลักษณทั้งหมดที่ปรากฏบนหนาจอจะปรากฏบนหนาจอโทรทัศนดวยเชนกัน คุณสามารถ ใชปุม [8] (DISP) เพื่อเปลี่ยนรายละเอียดบนหนาจอได • โดยปกติ การเชื่อมตอกลองกับโทรทัศนขณะบันทึกภาพจะทําใหจอภาพของกลองวางเปลา และแสดงภาพ ที่กลองบันทึกบนหนาจอโทรทัศน หากใชฟงกชันภาพระยะกวาง (หนา 79) ภาพจะปรากฏบนจอภาพ ไมใชบนหนาจอโทรทัศน กลองจะบันทึกภาพไดในกรณีใดกรณีหนึ่ง การรับชมภาพเคลื่อนไหวคุณภาพสูงบนจอ
• ใชสายสัญญาณ HDMI ที่ดานหนึ่งของสายสัญญาณมีหัวเสียบที่ใชกับชองเสียบสัญญาณ HDMI ของกลองได และอีกดานหนึ่งมีหัวเสียบที่ใชกับชองรับสัญญาณ HDMI ของโทรทัศนได • หากใชอปุ กรณอื่นๆ การสงสัญญาณภาพและ/หรือเสียงที่เหมาะสม รวมทั้งการทํางานอื่นๆ จะไมเกิดขึ้น • การเชื่อมตอกลองกับหัวเสียบ HDMI ของอุปกรณอนื่ อาจทําใหตวั กลองและอุปกรณเหลานั้นชํารุดเสียหาย ได หามเชื่อมตอชองสงสัญญาณ HDMI ทั้งสองตัวเขาดวยกัน • กอนที่จะถอดหรือเสียบสายเชื่อมตอ ตองแนใจวาไดปดกลองแลว คุณควรอานรายละเอียดเกี่ยวก
• การตั้งคา “สงสัญญาณ HDMI” จะเปลี่ยนแปลงไมไดในขณะที่ใชการเชื่อมตอสัญญาณ HDMI ระหวางกลองกับโทรทัศน ถอดสายสัญญาณ HDMI ออกจากกลองเพื่อเปลี่ยนการตั้งคา “สงสัญญาณ HDMI” การบันทึกภาพจากกลองลงบนเครือ่ งเลนวีดโี อหรือเครื่องบันทึกดีวดี ี ใชวิธีตอไปนี้เพื่อเชื่อมตอกลองกับเครื่องบันทึกโดยใชสาย AV (อุปกรณเสริม) – เครื่องเลนวีดีโอหรือเครื่องบันทึกดีวีดี: ตอสาย AV กับขั้วเสียบรับสัญญาณภาพและขั้วเสียบรับสัญญาณ เสียง – กลอง: ตอสาย AV กับพอรต USB/AV คุณสามารถเลนสไลดโชวภาพนิ่งและภาพเคลื่อนไหวบน
ฟงกชันแสดงภาพฟงกชันอื่นๆ (PLAY MENU) ในบทนี้จะอธิบายรายการเมนูที่คุณสามารถใชกําหนดการตั้งคาและควบคุมการแสดงภาพตางๆ สําหรับรายละเอียดเกี่ยวกับการทํางานของเมนู โปรดดูหนา 92 การเลนสไลดโชวบนกลอง (สไลดโชว) [p] (เลนภาพ) * [MENU] * แท็บ “p PLAY MENU” * สไลดโชว เริ่ม เริ่มสไลดโชว ภาพ กําหนดชนิดของภาพที่จะใสลงในสไลดโชว ภาพทั้งหมด: ภาพนิ่ง, ภาพเคลื่อนไหว, ภาพที่ถายดวยฟงกชันชัตเตอรตอเนื่อง ทุกภาพยกเวน Z: ภาพที่ไมไดถายดวยชัตเตอรตอเนื่อง (ตอเนื่อง) ทั้งหมด T เฉพาะ: เฉพาะภาพนิ่ง » เฉพ
เอฟเฟกต เลือกเอฟเฟกตที่ตองการ แบบที่ 1 ถึง 5: เลนเพลงประกอบและปรับใชเอฟเฟกตในการเปลี่ยนภาพ • แบบที่ 2 ถึงแบบที่ 4 จะมีดนตรีประกอบแตกตางกัน แตแบบทั้งหมดจะใชเอฟเฟกตในการเปลี่ยน ภาพเหมือนกัน • แบบที่ 5 จะใชในการเลนภาพนิ่งไดเพียงอยางเดียว (ยกเวนภาพที่อยูในกลุมตอเนื่อง) และจะไมใชการตั้งคา “ชวงเวลา” • เอฟเฟกตในการเปลี่ยนภาพที่เลือกไวในปจจุบันจะถูกยกเลิกใชงานโดยอัตโนมัติในกรณีตอ ไปนี้ – เมื่อเลนสไลดโชวสําหรับคา “» เฉพาะ” ที่เลือกเปนการตั้งคา “ภาพ” – เมื่อการตั้งคาชวงเวลาคือ “สูงส
2. ดําเนินการอยางใดอยางหนึ่งตอไปนี้เพื่อเปดการดหนวยความจําหรือหนวยความจําภายใน 3. 4.
การตัดตอวีดีโอจากกลอง (ตัดตอวีดีโอ) [p] (เลนภาพ) * หนาจอภาพเคลือ่ นไหวของภาพเคลื่อนไหวที่จะตัดตอ * [MENU] * แท็บ “p PLAY MENU” * ตัดตอวีดีโอ คุณลักษณะตัดตอวีดีโอจะทําใหคณ ุ ใชขั้นตอนใดขั้นตอนหนึ่งตอไปนี้ในการตัดตอสวนที่เฉพาะเจาะจงของ ภาพเคลื่อนไหวได ตัดชวงหนา ตัดทั้งหมดออกจากจุดเริ่มตนของภาพเคลื่อนไหวจนถึงตําแหนงที่เลือกไว ปจจุบัน ตัดสวนกลาง ตัดทั้งหมดระหวางจุดสองจุด ตัดชวงหลัง ตัดทั้งหมดจากตําแหนงที่เลือกไวปจจุบันถึงตอนจบของภาพเคลื่อนไหว 1. 2.
4. ใชปุม [8] และ [2] เพื่อเลือก “ใช” จากนั้น กดปุม [SET] การดําเนินการตัดตอที่เลือกไวจะใชเวลานานมากกวาจะเสร็จสมบูรณ หามใชงานกลองจนกวาขอความ “กําลังทํางาน... โปรดรอ...
การปรับสมดุลแสงสีขาว (สมดุลแสงสีขาว) [p] (เลนภาพ) * หนาจอภาพนิ่ง * [MENU] * แท็บ “p PLAY MENU” * สมดุลแสงสีขาว คุณสามารถใชการตั้งคาสมดุลแสงสีขาวเพื่อเลือกประเภทของแหลงแสงสวางที่ใชกับภาพที่จะบันทึก ซึ่งจะสงผลตอสีของภาพดวย ¤ กลางแจง กลางแจง อากาศดี ' มืดครึม ้ กลางแจง, เมฆมืดครึ้มเพราะฝนกําลังจะตก, ในรมเงาตนไม ฯลฯ “ รมเงา แสงที่รอนจัด เชน เงาจากตัวอาคาร ฯลฯ แสงจากหลอดไฟฟลูออเรสเซนตเดยไวทหรือแบบแสงสีขาวโดยไมมีการปรับ ฟลูออเรสเซนตเดยไวท การอมสี † – ฟลูออเรสเซนตเดยไลท แสงจาก
การเลือกภาพสําหรับพิมพ (พิมพ DPOF) [p] (เลนภาพ) * หนาจอภาพนิ่ง * [MENU] * แท็บ “p PLAY MENU” * พิมพ DPOF ดูรายละเอียดไดที่หนา 135 การปองกันไฟลจากการลบ (ปองกัน) [p] (เลนภาพ) * [MENU] * แท็บ “p PLAY MENU” * ปองกัน ปองกันไฟลที่เจาะจง 1 ใชปุม [4] และ [6] เพื่อเลือกภาพที่ตองการปองกัน เลือกไฟล ทุกไฟล • ในการดูภาพใดภาพหนึ่งโดยเฉพาะ ใหหมุนตัว ควบคุมการซูม 2 กดปุม [SET] ภาพที่มีการปองกันจะกํากับไวดวยไอคอน › 3 หากตองการปองกันไฟลอนื่ ๆ ใหทําซ้ําขั้นตอนที่ 1 และ 2 หากตองการออกจากการป
. 1. การปองกันภาพที่เจาะจงในกลุมตอเนื่อง กดปุม [2] ขณะที่กลองกําลังเลนภาพตอเนื่องหรือพักการเลนไว (สลับไปมาโดยกดปุม [SET]) กลองจะแสดงเมนู “แกไขกรอบตอเนื่อง” 2. 3. 4. ใชปุม [8] และ [2] เพื่อเลือก “ปองกัน” จากนั้น กดปุม [SET] 5.
การแกไขวันที่และเวลาในภาพ (วันที่/เวลา) [p] (เลนภาพ) * หนาจอภาพนิ่ง * [MENU] * แท็บ “p PLAY MENU” * วันที่/เวลา [8] [2] เปลี่ยนการตั้งคาที่ตําแหนงเคอรเซอร [ 4 ] [6 ] เลื่อนเคอรเซอรไปมาระหวางคาตางๆ เมื่อไดการตั้งคาวันที่และเวลาตามที่ตอ งการแลว ปรับเคอรเซอรใหตรงกับ “ตกลง” จากนั้น กดปุม [SET] เพื่อนําคาดังกลาวมาใช • ในการปรับเปลี่ยนรูปแบบเวลาระหวาง 12 ชั่วโมงกับ 24 ชั่วโมง เลื่อนเคอรเซอรไปที่คาปจจุบัน (“am (pm)” หรือ “24h”) จากนั้น ใชปุม [8] หรือ [2] เพื่อเปลี่ยนการตั้งคา • ว
การแกขนาดภาพนิ่ง (แกขนาด) [p] (เลนภาพ) * หนาจอภาพนิ่ง * [MENU] * แท็บ “p PLAY MENU” * แกขนาด คุณสามารถลดขนาดของภาพนิ่งและบันทึกผลลัพธที่ไดเปนภาพนิ่งอีกหนึ่งภาพ กลองจะไมเก็บภาพนิ่ง ตนฉบับไว คุณสามารถแกขนาดภาพใหเปนหนึ่งขนาดจากขนาดภาพสามขนาด: 10M, 3M, VGA • การแกขนาดภาพนิ่ง 3:2 หรือ 16:9 จะเปนการสรางภาพที่มีอัตราสวนภาพ 4:3 ดวยการตัดดานขาง ทั้งสองขางของภาพออก • วันที่บันทึกของภาพนิ่งที่แกขนาดแลวจะเปนวันเดียวกันกับวันที่บันทึกภาพนิ่งตนฉบับ การครอบตัดภาพนิง่ (ตัดขอบ) [p] (เลนภาพ) * หน
การคัดลอกไฟล (คัดลอก) [p] (เลนภาพ) * หนาจอภาพนิ่งหรือภาพเคลือ่ นไหว * [MENU] * แท็บ “p PLAY MENU” * คัดลอก คุณสามารถคัดลอกไฟลจากหนวยความจําภายในกลองไปยังการดหนวยความจําหรือจากการดหนวยความจำ ไปที่หนวยความจําภายในกลองได คัดลอกไฟลทั้งหมดจากหนวยความจําภายในเครื่องไปที่การดหนวยความจํา เครื่อง* การด ตัวเลือกนี้จะคัดลอกไฟลทั้งหมดที่อยูในหนวยความจําภายในเครื่อง และไมสามารถใช ในการคัดลอกไฟลเดี่ยวได คัดลอกไฟลเดี่ยวจากการดหนวยความจําไปที่หนวยความจําภายในเครื่อง ไฟลจะถูก คัดลอกไปไวในโฟลเด
การรวมภาพตอเนื่องเปนภาพนิ่งภาพเดียว (หลายภาพตอเนื่อง) [p] (เลนภาพ) * แสดงกลุมตอเนื่อง * [MENU] * แท็บ “p PLAY MENU” * หลายภาพตอเนื่อง 1. ใชปุม [8] และ [2] เพื่อเลือก “สราง” 2.
การพิมพ การพิมพภาพนิ่ง ศูนยบริการลางอัดภาพ* คุณสามารถนําการดหนวยความจําที่มีภาพที่คุณตองการพิมพไปพิมพที่ศูนยบริการ ลางอัดภาพ การพิมพจากเครื่องพิมพขนาดเล็ก* การพิมพภาพจากเครื่องพิมพที่มีชองใสการดหนวยความจํา คุณสามารถใชเครื่องพิมพที่มีชองใสการดหนวยความจําในการพิมพภาพ จากการดหนวยความจําไดโดยตรง สําหรับรายละเอียด โปรดดูคมู ือผูใช ที่ใหมาพรอมกับเครื่องพิมพ การตอกับเครื่องพิมพที่ใชฟงกชัน PictBridge โดยตรง คุณสามารถพิมพภาพจากเครื่องพิมพที่รองรับ PictBridge ได (หนา 133)
. การตอกลองกับเครื่องพิมพ ใชสาย USB ที่ใหมาพรอมกลองในการเชื่อมตอกลองกับพอรต USB ของเครื่องพิมพ • สําหรับรายละเอียดเกี่ยวกับการเชื่อมตอกลองและขอควรระวังเมื่อทําการเชื่อมตอ โปรดดูหนา 17 พอรต USB USB หัวเสียบขนาดเล็ก หัวเสียบขนาดใหญ สาย USB (ใหมาพรอมกับกลอง) • กลองจะไมดึงกระแสไฟผานทางสาย USB ตรวจเช็คระดับแบตเตอรี่กอนจะทําการเชื่อมตอ และตองแนใจวา มีพลังงานแบตเตอรี่เพียงพอ • กอนที่จะถอดหรือเสียบสายเชื่อมตอ ตองแนใจวาไดปดกลองแลว คุณควรอานรายละเอียดเกี่ยวกับ ขอกําหนดจากคู
5. ใชปุม [8] และ [2] เพื่อกําหนดตัวเลือกพิมพที่คณ ุ ตองการ 1 ภาพ : พิมพภาพหนึ่งภาพ เลือกแลวกดปุม [SET] จากนั้น ใชปุม [4] และ [6] เพื่อเลือกภาพ ที่คุณตองการพิมพ พิมพ DPOF : พิมพภาพหลายภาพ เลือกแลวกดปุม [SET] ดวยตัวเลือกนี้ ภาพจะถูกพิมพตามการตั้งคา DPOF (หนา 135) • ในการเปดและปดฟงกชันพิมพวันที่ กดปุม [0] (ภาพเคลื่อนไหว) จะมีการพิมพวนั ที่ลงบนภาพ เมื่อ “เปด” ปรากฏบนหนาจอ 6. 7.
. การกําหนดการตั้งคา DPOF สําหรับภาพแตละภาพ [p] (เลนภาพ) * หนาจอภาพนิ่ง * [MENU] * แท็บ “p PLAY MENU” * พิมพ DPOF * เลือกภาพ 1. 2. ใชปุม [4] และ [6] เพือ่ เลือ่ นไปตามไฟลจนกวาภาพที่คุณตองการพิมพจะแสดงบนหนาจอ 3. กดปุม [SET] .
. 1. การกําหนดจํานวนสําเนาสําหรับภาพที่เจาะจงในกลุมตอเนื่อง กดปุม [2] ขณะที่กลองกําลังเลนภาพตอเนื่องหรือพักการเลนไว (สลับไปมาโดยกดปุม [SET]) กลองจะแสดงเมนู “แกไขกรอบตอเนื่อง” 2. 3. 4. 5. ใชปุม [8] และ [2] เพื่อเลือก “พิมพ DPOF” จากนั้น กดปุม [SET] 6. กดปุม [SET] . 1.
การตั้งคา DPOF จะไมถูกลบออกโดยอัตโนมัติหลังจากการพิมพภาพเสร็จสมบูรณ เครื่องจะดําเนินการพิมพ DPOF ที่คุณจะใชงานในครั้งถัดไปโดยใชการตัง้ คา DPOF ลาสุดที่คุณไดกําหนดคา ไวสําหรับภาพ หากตองการลบการตั้งคา DPOF กําหนด “00” ในชองจํานวนสําเนาของภาพทั้งหมด แจงศูนยบริการลางอัดภาพเกี่ยวกับการตั้งคา DPOF ของคุณ! หากคุณนําการดหนวยความจําไปที่ศูนยบริการลางอัดภาพ คุณตองแนใจวาไดแจงทางรานวาใน การดหนวยความจํามีการตั้งคา DPOF ใหกับภาพที่จะพิมพ รวมถึงจํานวนสําเนาดวย หากคุณไมไดแจง ทางศูนย
. มาตรฐานที่กลองดิจิตอลเครื่องนี้รองรับ • PictBridge เปนมาตรฐานของ CIPA (Camera and Imaging Products Association) คุณสามารถ ตอกลองกับเครื่องพิมพที่รองรับ PictBridge ไดโดยตรง โดยสามารถเลือกและพิมพภาพได โดยใชปุมควบคุมและหนาจอของตัวกลอง • PRINT Image Matching III การใชซอฟตแวรแกไขภาพ แลวพิมพจากเครื่องพิมพที่รองรับระบบ PRINT Image Matching III จะทําใหใชขอมูลเกี่ยวกับสภาวะการถายภาพที่ถูกบันทึกลงพรอมกับภาพได และยังทําใหไดภาพในแบบที่คณ ุ ตองการอยางชัดเจน PRINT Image Matching และ PRINT
การใชกลองดิจิตอลกับคอมพิวเตอร สิ่งที่ดําเนินการไดเมื่อใชคอมพิวเตอร...
การใชกลองดิจติ อลกับคอมพิวเตอรระบบ Windows เมื่อคุณตองการ เวอรชันของ ดําเนินการตอไปนี้: ระบบปฏิบัติการ บันทึกภาพลงบน คอมพิวเตอร แลวดูภาพจากเครื่อง โดยปรับเอง ติดตั้งซอฟตแวรนี้: ดูหนา: Windows 8, Windows 7, Windows Vista, Windows XP (SP3) ไมตองติดตั้งซอฟตแวร Windows 8, Windows 7 ไมตองติดตั้งซอฟตแวร • Windows Media Player 12 สําหรับใชเลน ภาพเคลื่อนไหว ซึ่งติดตั้งโปรแกรมไวแลว ในคอมพิวเตอรสวนใหญ Windows Vista, Windows XP (SP3) ภาพเคลื่อนไหวสามารถเลนไดโดยใช QuickTime 7 • คุณต
. 1. 2. 3. 4. การเชื่อมตอกลองกับคอมพิวเตอรและบันทึกไฟล เปดกลอง แลวกดปุม [MENU] จากแท็บ “¥ SETTING” เลือก “USB” จากนั้น กดปุม [6] ใชปุม [8] และ [2] เพื่อเลือก “Mass Storage” จากนั้น กดปุม [SET] ปดกลอง จากนั้น ใชสาย USB ที่ใหมา พรอมกลองเชื่อมตอกลองกับ คอมพิวเตอร พอรต USB USB • สําหรับรายละเอียดเกี่ยวกับการเชื่อมตอ กลองและขอควรระวังเมื่อทําการเชื่อมตอ โปรดดูหนา 18 สาย USB 5. เปดกลอง 6.
11.
การเลนภาพเคลื่อนไหว ในการเลนภาพเคลื่อนไหว ลําดับแรก คัดลอกไฟลไปไวที่คอมพิวเตอร จากนั้น ดับเบิ้ลคลิกไฟลภาพเคลื่อนไหว ภาพเคลื่อนไหวอาจเลนบนระบบปฏิบัติการบางระบบไมได หากเกิดกรณีดังกลาวขึ้น คุณตองติดตั้งซอฟตแวร ที่มีจําหนายแยกตางหากได • สําหรับ Windows 8 และ Windows 7 คุณสามารถเลนภาพเคลื่อนไหวดวย Windows Media Player 12 ได • หากคุณไมสามารถเลนภาพเคลื่อนไหวได ไปยัง URL ดานลางเพื่อดาวนโหลด QuickTime 7 แลวติดตั้ง ลงบนคอมพิวเตอร http://www.apple.com/quicktime/ .
การใชกลองดิจติ อลกับ Macintosh เมื่อคุณตองการ ดําเนินการตอไปนี้: เวอรชันของ ระบบปฏิบัติการ ติดตั้งซอฟตแวรนี้: บันทึกภาพลงบน Macintosh แลวดูภาพ จากเครื่องโดยปรับเอง OS X ไมตอ งติดตั้งซอฟตแวร บันทึกภาพลงบน Macintosh โดยอัตโนมัติ/ จัดการภาพ OS X ใช iPhoto ซึ่งจะมีมาพรอมกับผลิตภัณฑ Macintosh – เลนภาพเคลื่อนไหว OS X รองรับการเลนไฟลภาพเคลื่อนไหวในกรณี ที่เปนระบบ OS X 10.4.
. 1. 2. 3. 4. การเชื่อมตอกลองกับคอมพิวเตอรและบันทึกไฟล เปดกลอง แลวกดปุม [MENU] จากแท็บ “¥ SETTING” เลือก “USB” จากนั้น กดปุม [6] ใชปุม [8] และ [2] เพื่อเลือก “Mass Storage” จากนั้น กดปุม [SET] ปดกลอง จากนั้น ใชสาย USB ที่ใหมา พรอมกลองเชื่อมตอกลองกับ Macintosh พอรต USB USB • สําหรับรายละเอียดเกี่ยวกับการเชื่อมตอ กลองและขอควรระวังเมื่อทําการเชื่อมตอ โปรดดูหนา 18 สาย USB 5. 6. 7. 8. 9.
. 1. 2. 3. 4.
. ขอควรระมัดระวังในการเลนภาพเคลื่อนไหว คุณอาจไมสามารถเลนภาพเคลื่อนไหวไดตามปกติใน Macintosh บางรุน หากคุณประสบปญหา ใหลอง ดําเนินการดังนี้ – ลองบันทึกภาพเคลื่อนไหวโดยใชการตัง้ คาคุณภาพเปน “STD” – อัพเกรดโปรแกรม QuickTime เปนเวอรชันลาสุด – ปดแอปพลิเคชั่นอื่นๆ ที่เปดไว แมจะไมสามารถเลนไฟลไดใน Macintosh คุณสามารถใชสาย AV (อุปกรณเสริม) เชื่อมตอกับขั้วเสียบของ ชองรับสัญญาณภาพที่โทรทัศนหรือเครื่อง Macintosh เพื่อเลนภาพเคลื่อนไหวดวยวิธีดังกลาวได • คุณตองยายขอมูลภาพเคลื่อนไหวไปไวที
• ภาพที่บันทึกไวจะถูกโอนผาน LAN ไรสาย หามใชการด Eye-Fi หรือปดการเชื่อมตอการด Eye-Fi (หนา 156) เมื่ออยูบนเครื่องบินหรือไมวา สถานที่ใดก็ตามที่มีการจํากัดหรือหามใชการเชื่อมตอแบบไรสาย • การใสการด Eye-Fi จะทําใหมสี ัญลักษณ Eye-Fi ปรากฏบนหนาจอ ลักษณะ ของความโปรงใสและไมโปรงใสของสัญลักษณแสดงถึงสถานะการสื่อสารตามที่แสดง ไวดานลาง โปรงใส ไมพบจุดเชื่อมตอหรือปรากฏขอมูลภาพ ที่ไมสามารถถายโอนได ไมโปรงใส กําลังโอนขอมูลภาพ กําลังกะพริบ กําลังคนหาจุดเชื่อมตอ • ไอคอนการเชื่อมตอสั
การใชสมารทโฟนเพื่อแสดงภาพที่เก็บไวในการด FlashAir (FlashAir) การใสการด FlashAir ที่มีจําหนายทั่วไปลงในกลองจะทําใหดูภาพไดแลวคัดลอกภาพลงในสมารทโฟนหรือ คอมพิวเตอรผานการเชื่อมตอ LAN ไรสาย • สําหรับขอมูลเพิ่มเติม โปรดดูคําแนะนําที่ใหมาพรอมการด 1. ใชคอมพิวเตอรหรืออุปกรณอื่นๆ เพื่อกําหนดการตั้งคาของการด FlashAir 2. ใสการด FlashAir ที่กําหนดคาแลวลงในกลอง แลวถายภาพที่ตองการ 3.
• เมือ่ เปดใชบนเครื่องบินหรือในสถานที่อื่นๆ ที่มีการจํากัดหรือหามใชการเชื่อมตอไรสาย หามใชการด FlashAir หรือเปลี่ยนการตั้งคา “FlashAir” ของกลอง (หนา 156) และการตั้งคาของการด FlashAir เปนคาที่แสดงดานลาง FlashAir: ปด การดหนวยความจํา: Start with the control image (เริ่มทํางานดวยตัวควบคุมรูป) • การใสการด FlashAir ลงในกลองจะทําใหไอคอน FlashAir ปรากฏบนหนาจอ โปรงใส ไมมีการเชื่อมตอ LAN ไรสาย ไมโปรงใส ใชงานการเชื่อมตอสัญญาณ กําลังกะพริบ กําลังทํางาน (ปดใชงานการเชื่อมตอ) • ค
ไฟลและโฟลเดอร กลองจะสรางไฟลทุกครั้งที่คุณถายภาพนิ่ง บันทึกภาพเคลื่อนไหว หรือดําเนินขัน้ ตอนใดๆ ที่เป็นการบันทึก ขอมูล ไฟลจะถูกจัดกลุมดวยการบันทึกไวในโฟลเดอร ไฟลและโฟลเดอรแตละรายการจะมีชื่อที่เดนชัด • สําหรับรายละเอียดเกี่ยวกับวิธีจัดเรียงโฟลเดอรในหนวยความจํา ดู “โครงสรางโฟลเดอรหนวยความจํา” (หนา 153) ชื่อและจํานวนสูงสุดทีใ่ ชได ตัวอยาง แตละโฟลเดอรจะมีไฟลไดมากถึง 9999 ไฟล โดยไฟลจะถูก ตัง้ ชื่อเปน CIMG0001 ถึง CIMG9999 นามสกุลของชื่อไฟล จะขึ้นอยูกับประเภทไฟล ชื่อไฟลที่ 26
ขอมูลในการดหนวยความจํา กลองจะบันทึกภาพที่คุณถายไวตาม DCF (Design Rule for Camera File System) . เกี่ยวกับ DCF ขั้นตอนการทํางานตอไปนี้เปนขั้นตอนที่รองรับภาพ DCF ที่ผิดปกติ หมายเหตุ อยางไรก็ตาม CASIO ไมสามารถรับรองขั้นตอนการทํางานที่เกี่ยวของตางๆ เหลานี้ได • การโอนยายภาพ DCF ที่ผิดปกติไปยังกลองจากบริษทั ผูผลิตอืน่ ๆ และเปดดู • การพิมพภาพ DCF ที่ผิดปกติบนเครื่องพิมพของบริษัทผูผลิตอื่น • การโอนยายภาพ DCF ที่ผิดปกติไปที่กลองดังกลาวและเปดดู .
. ไฟลภาพที่รองรับ • ไฟลภาพที่ถายดวยกลองตัวนี้ • ไฟลภาพที่สอดคลองตาม DCF กลองตัวนี้อาจไมสามารถแสดงภาพได แมภาพดังกลาวจะสอดคลองตาม DCF ก็ตาม เมื่อจะแสดงภาพที่บันทึก ดวยกลองตัวอื่น ระบบอาจใชเวลานานในการเปดภาพบนหนาจอกลอง .
การตั้งคาอื่นๆ (SETTING) ในบทนี้จะอธิบายเกี่ยวกับรายการเมนูที่คุณสามารถใชในการกําหนดการตั้งคาและดําเนินการขั้นตอนตางๆ ในโหมดบันทึกภาพและโหมดเลนภาพ สําหรับรายละเอียดเกี่ยวกับการทํางานของเมนู โปรดดูหนา 92 การเปดใชงานฟงกชันประหยัดไฟ (โหมดประหยัด) [MENU] * แท็บ “¥ SETTING” * โหมดประหยัด การเปดใชงานฟงกชันประหยัดพลังงานจะลดความสวางของจอภาพและจะเปลี่ยนใหระบบตางๆ ของกลอง ใชพลังงานลดนอยลง ซึ่งจะทําใหประจุแบตเตอรี่อยูไดยาวนานขึน้ และทําใหถายภาพไดจํานวนมากขึ้นใน ชวงดังกลาว การเลือก “เปด”
การปดการเชื่อมตอสัญญาณการด Eye-Fi (Eye-Fi) [MENU] * แท็บ “¥ SETTING” * Eye-Fi เลือก “ปด” เพื่อยกเลิกใชงานการเชื่อมตอสัญญาณการด Eye-Fi (หนา 148) การกําหนดการตั้งคาเชื่อมตอการด FlashAir (FlashAir) [MENU] * แท็บ “¥ SETTING” * FlashAir การเลือก “Start with the control image” (เริ่มทํางานดวยตัวควบคุมรูป) สําหรับการด FlashAir และการเลือก “เปด” สําหรับการตั้งคา “FlashAir” ของกลองจะสรางการเชื่อมตอ LAN ไรสายของการด FlashAir (หนา 150) • หากเลือกการตั้งคา “Start automatically at boot” (เริ่มทําง
การสรางโฟลเดอรจัดเก็บภาพ (สรางโฟลเดอร) [MENU] * แท็บ “¥ SETTING” * สรางโฟลเดอร สรางโฟลเดอร สรางโฟลเดอรโดยใชตวั เลขที่เดนชัด (หนา 152) ไฟลจะถูกบันทึกลงใน โฟลเดอรใหมเริ่มตั้งแตเมื่อคุณบันทึกภาพครั้งตอไป ยกเลิก ยกเลิกการสรางโฟลเดอร • ภาพที่บันทึกโดยใชฉาก BEST SHOT “eBay” หรือ “สินคาประมูล” และฉาก “YouTube” จะถูกเก็บไว ในโฟลเดอรพิเศษ รูปภาพเหลานั้นจะไมถูกจัดเก็บไวในโฟลเดอรที่คณ ุ สรางขึ้น ณ ที่นี้ • การลบไฟลทั้งหมดในโฟลเดอรจะทําใหโฟลเดอรถูกลบดวย การพิมพเวลาบนภาพนิ่ง (พิมพ
การตรวจหาทิศทางภาพและปรับหมุนทิศทางภาพอัตโนมัติ (หมุนอัตโนมัติ) [MENU] * แท็บ “¥ SETTING” * หมุนอัตโนมัติ เปด หมุนภาพนิ่งที่ถายโดยถือกลองในแนวตั้ง 90 องศา โดยอัตโนมัติ ปด กลองจะไมหมุนภาพโดยอัตโนมัติ กลองจะตรวจหาวาภาพนิ่งถูกถายในแนวนอนหรือแนวตัง้ แลวจะแสดงภาพดังกลาวตามแนวนั้น การกําหนดกฎการสรางเลขซีเรียลชื่อไฟล (เลขไฟล) [MENU] * แท็บ “¥ SETTING” * เลขไฟล ใชขั้นตอนตอไปนี้ในการกําหนดกฎที่จะใชในการสรางเลขซีเรียลที่จะใชในการตั้งชื่อไฟล (หนา 152) ทําตอ สั่งกลองใหจําเลขไฟลที่ใชลา
การกําหนดการตั้งคาสภาพการตั้งปดหนาจอ (ตั้งปดหนาจอ) [MENU] * แท็บ “¥ SETTING” * ตั้งปดหนาจอ คุณลักษณะนี้จะปดหนาจอและเปดไฟแสดงสถานะดานหลัง (สีเขียว) เมื่อไมมีการใชงานกลองภายในชวงเวลา ที่กําหนดไว กดปุมใดๆ เพื่อเปดหนาจออีกครั้ง การตั้งคาเวลาทํางาน: 30 วินาที, 1 นาที, 2 นาที, ปด (ตั้งปดหนาจอถูกยกเลิกเมื่อเลือก “ปด”) • ตั้งปดหนาจอจะถูกยกเลิกใชงานเมื่อกลองอยูในสภาวะใดสภาวะหนึ่งตอไปนี้ – ในโหมดเลนภาพ – ขณะที่เชื่อมตอกลองกับคอมพิวเตอร โทรทัศน หรืออุปกรณอื่นๆ – ขณะบันทึกและเลนภาพเ
การกําหนดการตั้งคา [r] (บันทึก) [MENU] * แท็บ “¥ SETTING” * REC เปดเครื่อง กลองจะเปดขึ้นทุกครั้งที่กดปุม [r] (บันทึก) เปด/ปดเครื่อง กลองจะเปดหรือปดทุกครั้งที่กดปุม [r] (บันทึก) ปด กลองจะไมเปดหรือปดเมื่อกดปุม [r] (บันทึก) • เมือ่ ใช “เปด/ปดเครื่อง” กลองจะปดเมื่อคุณกดปุม [r] (บันทึก) ในโหมดบันทึกภาพ การกําหนดการตั้งคา [p] (เลนภาพ) [MENU] * แท็บ “¥ SETTING” * PLAY เปดเครื่อง กลองจะเปดขึ้นทุกครั้งที่กดปุม [p] (เลนภาพ) เปด/ปดเครื่อง กลองจะเปดหรือปดทุกครั้งที่กดปุม [p
การกําหนดการตั้งคาเวลาโลก (เวลาโลก) [MENU] * แท็บ “¥ SETTING” * เวลาโลก คุณสามารถใชหนาจอเวลาโลกในการดูเวลาปจจุบันในเขตเวลาที่แตกตางจากเมืองที่คณ ุ อยูเมื่อคุณกําลัง เดินทาง ฯลฯ เวลาโลกจะแสดงเวลาปจจุบันของเมือง 162 แหงในเขตเวลา 32 เขตทั่วโลก 1. ใชปุม [8] และ [2] เพื่อเลือก “โลก” จากนั้น กดปุม [6] 2. ใชปุม [8] และ [2] เพื่อเลือก “เมือง” จากนั้น กดปุม [6] 3. 4. 5.
การตั้งคานาฬิกาในกลอง (ปรับ) [MENU] * แท็บ “¥ SETTING” * ปรับ เมื่อไดการตั้งคาวันที่และเวลาตามที่ตอ งการแลว เลือก “ตกลง” จากนั้น กดปุม [SET] เพื่อนําคาดังกลาวมาใช [8] [2] เปลี่ยนการตั้งคาที่ตําแหนงเคอรเซอร [ 4 ] [6 ] เลื่อนเคอรเซอรไปมาระหวางคาตางๆ • ในการปรับเปลี่ยนรูปแบบเวลาระหวาง 12 ชั่วโมงกับ 24 ชั่วโมง เลื่อนเคอรเซอรไปที่คาปจจุบัน (“am (pm)” หรือ “24h”) จากนั้น ใชปุม [8] หรือ [2] เพื่อเปลี่ยนการตั้งคา • คุณสามารถกําหนดวันที่วันใดก็ไดระหวาง 2001 ถึง 2049 • คุณตองแนใจวา
การกําหนดภาษาบนหนาจอ (Language) [MENU] * แท็บ “¥ SETTING” * Language .
การเลือกสัดสวนภาพของหนาจอและระบบสงสัญญาณภาพ (สงสัญญาณ Video) [MENU] * แท็บ “¥ SETTING” * สงสัญญาณ Video คุณสามารถใชขั้นตอนในบทนี้เพื่อเลือก NTSC หรือ PAL เปนระบบสงสัญญาณภาพ ทั้งนี้ คุณสามารถกําหนด สัดสวนภาพเปน 4:3 หรือ 16:9 ได NTSC ระบบภาพที่ใชในประเทศญี่ปุน สหรัฐอเมริกา และประเทศอื่นๆ PAL ระบบภาพที่ใชในทวีปยุโรปและพื้นที่อื่นๆ 4:3 อัตราสวนภาพ 4:3 16:9 อัตราสวนภาพจอกวาง • เลือกสัดสวนภาพ (4:3 หรือ 16:9) ใหตรงกับประเภทของโทรทัศนที่คณ ุ จะใช ระบบจะแสดงภาพไมถูกตอง หากคุณเลือกอัตรา
การฟอรแมตหนวยความจําภายในหรือการดหนวยความจํา (ฟอรแมต) [MENU] * แท็บ “¥ SETTING” * ฟอรแมต หากใสการดหนวยความจําไวในกลอง ขัน้ ตอนนี้จะฟอรแมตการดหนวยความจํา ระบบจะฟอรแมต หนวยความจําภายใน หากไมไดใสการดหนวยความจำไวในกลอง • การฟอรแมตจะลบขอมูลทั้งหมดในการดหนวยความจําหรือในหนวยความจําภายใน ซึ่งจะเปนการลบ โดยสมบูรณ กอนการฟอรแมต ตรวจสอบใหแนใจวาคุณไมตองการขอมูลใดๆ ที่อยูในการดหรือ ในหนวยความจําภายใน • การฟอรแมตหนวยความจําภายในจะลบขอมูลตอไปนี้ – ภาพที่ปองกันไว – การตั้งคา
ภาคผนวก ขอควรระมัดระวังเพื่อความปลอดภัย *อันตราย สัญลักษณนี้แสดงขอมูลที่หากละเลยหรือใชอยางไมถูกตองจะทําใหเกิดอันตรายถึงแกชีวิตหรือเกิดการบาดเจ็บ สาหัสได *คําเตือน สัญลักษณนี้บงชี้สถานการณที่เสี่ยงตอการเกิดการบาดเจ็บสาหัสหรือถึงแกชีวิตหากใชงานผลิตภัณฑ อยางไมถูกตองโดยละเลยตอสัญลักษณนี้ *ขอควรระวัง สัญลักษณนี้บงชี้สถานการณที่เสี่ยงตอการเกิดการบาดเจ็บ รวมถึงสถานการณที่อาจทําใหผลิตภัณฑเสียหาย หากใชงานผลิตภัณฑอยางไมถูกตองโดยละเลยตอสัญลักษณนี้ ตัวอยางสัญลักษณ ! วงกลม
*อันตราย • การไมปฏิบัติตามขอควรระมัดระวังตอไปนี้จะทำใหแบตเตอรี่รอนจัด เกิดไฟไหม และระเบิดได – หามใชหรือวางแบตเตอรี่ใกลเปลวไฟ – อยาปลอยแบตเตอรี่ลงใหไดรับความรอนสูงหรือทิ้งลงในกองไฟ – ตองแนใจวาไดหันแบตเตอรี่ในทิศทางที่ถูกตอง เมื่อจะชารจไฟ – หามพกพาหรือเก็บแบตเตอรี่รวมกับอุปกรณอนื่ ๆ ที่นําไฟฟา (เชน สรอยคอ ไสดินสอ เปนตน) – หามถอดแยกแบตเตอรี่ ใชเข็มทิ่มแบตเตอรี่ หรือใชแรงอัดแบตเตอรี่ (เชน ใชคอ นทุบแบตเตอรี่ หรือเหยียบแบตเตอรี่ เปนตน) และหามบัดกรีแบตเตอรี่ หามวางแบตเตอรี่ไ
*คําเตือน . ควัน กลิ่นที่ผิดปกติ อาการรอนจัด และสิ่งผิดปกติอนื่ ๆ $ • การใชกลองอยางตอเนื่องเมื่อมีควันหรือกลิ่นแปลกปลอมจากกลอง หรือเมื่อกลองรอนจัด จะเสี่ยงตอการเกิดไฟไหมและไฟฟาช็อต ควรดําเนินการตามขั้นตอนตอไปนี้ทันทีที่เกิดอาการ อยางใดอยางหนึ่งตามที่กลาวมาขางตน 1. ปดกลอง 2. หากคุณกําลังใชอะแดปเตอร USB-AC เพื่อจายกระแสไฟเขาสูกลอง ใหถอดปลั๊กไฟออกจากเตารับ เมื่อถอดแบตเตอรี่ออกจากกลอง ระมัดระวังอยาใหตวั คุณเองไดรับบาดเจ็บจากการโดนเผาไหม 3.
*คําเตือน • การใชอะแดปเตอร USB-AC ไมถูกวิธีอาจทําใหอปุ กรณดังกลาวชํารุดเสียหายได และอาจทําใหเกิด ไฟไหมหรือไฟฟาช็อตได ตองแนใจวาไดปฏิบัติตามขอควรระวังตอไปนี้ – หามวางของหนักทับอะแดปเตอร USB-AC หรือใหอะแดปเตอรถูกความรอนโดยตรง – หามดัดแปลงอะแดปเตอร USB-AC ปลอยใหชํารุดเสียหาย หรือหักงอแรงๆ – หามบิดหรือดึงสายไฟอะแดปเตอร USB-AC – ขณะใชงาน ใหวางสายไฟในตําแหนงที่พนจากการเดินสะดุด • หามจับปลั๊กไฟขณะมือเปยก การกระทําดังกลาวอาจทําใหเกิดไฟฟาช็อต - • ถาสายไฟหรือปลั๊กไฟชํารุดเสียหาย
*คําเตือน . การทํากลองหลนและการใชงานอยางรุนแรง • การใชกลองตอไปอีกหลังจากที่กลองเกิดชํารุดเนื่องจากตกหลนหรือการใชงานอยางรุนแรง จะเสี่ยงตอการเกิดไฟไหมและไฟฟาช็อต ควรดําเนินการตามขั้นตอนตอไปนี้ทันทีที่เกิดอาการ อยางใดอยางหนึ่งตามที่กลาวมาขางตน 1. ปดกลอง 2. หากคุณกําลังใชอะแดปเตอร USB-AC เพื่อจายกระแสไฟเขาสูกลอง ใหถอดปลั๊กออกจาก เตารับที่ผนัง เมื่อถอดแบตเตอรี่ออกจากกลอง ระมัดระวังอยาใหตวั คุณเองไดรับบาดเจ็บ จากการโดนเผาไหม 3.
*ขอควรระวัง .
*ขอควรระวัง . หนาจอ • หามใชแรงกดหรือปลอยใหเกิดการกระแทกอยางรุนแรงบนพื้นผิวหนาจอ LCD การกระทํา ดังกลาวจะทําใหกระจกของจอภาพเกิดรอยราวและทำใหไดรับบาดเจ็บได • หากหนาจอเกิดรอยราว หามสัมผัสของเหลวที่อยูภายในหนาจอ การกระทําดังกลาว จะทําใหผิวหนังอักเสบ • หากของเหลวจากหนาจอไหลเขาปาก ควรบวนปากทันทีและไปพบแพทย • หากของเหลวจากหนาจอสัมผัสกับผิวหนังหรือเขาตา ควรลางออกดวยน้ําสะอาดทันที เปนเวลาอยางนอย 15 นาที และไปพบแพทย .
ขอควรระมัดระวังขณะใชงาน .
. เลนส • หามใชแรงกดมากเกินไปขณะทําความสะอาดผิวเลนส การกระทําดังกลาวจะทําใหเกิดรอยขีดขวนบน ผิวเลนสและทําใหเกิดการทํางานผิดปกติได • บางครั้งคุณอาจสังเกตเห็นความผิดเพี้ยนขึ้นในภาพบางแบบ เชน เกิดการโคงเล็กนอยบนเสนที่ควรจะตรง ทั้งนี้เนื่องมาจากคุณลักษณะของเลนส ไมใชการบงชี้ถึงการทํางานผิดปกติของกลองแตอยางใด .
. ลิขสิทธิ์ ตามกฎหมายลิขสิทธิ์ นอกเหนือจากความบันเทิงสวนตัว หามใชภาพนิ่งหรือภาพเคลื่อนไหวจากภาพที่ เปนสิทธิของผูอื่นโดยไมไดรับอนุญาตจากผูทรงสิทธิ ในบางกรณี อาจมีการหามไมใหถา ยภาพการแสดงในที่ สาธารณะ งานแสดงนิทรรศการ โชวตางๆ ตลอดทั้งงาน ฯลฯ แมการบันทึกดังกลาวจะทําไวเพื่อเปน การบันทึกสวนตัวก็ตาม ไมวาคุณจะซื้อไฟลดังกลาวหรือไดมาโดยไมเสียคาใชจา ย หามประกาศไฟลภาพ เหลานั้นลงในเว็บไซต เว็บไซตแบงปนไฟล หรือเว็บไซตอินเทอรเน็ตอื่นๆ หรือแมกระทั่งการจัดจําหนายภาพ ดังกลาวใหกับบุ
แหลงจายไฟ การชารจ . หากไฟแสดงสถานะดานหลังของกลองเริ่มกะพริบเป็นสีแดง...
ขอควรระมัดระวังเกี่ยวกับแบตเตอรี่ .
การใชการดหนวยความจํา ดูรายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับการดหนวยความจําที่รองรับและวิธีใสการดหนวยความจําที่หนา 23 .
. การทิ้งหรือการโอนความเปนเจาของการดหนวยความจําหรือกลอง ฟงกชันลบหรือฟอรแมตกลองจริงๆ แลวจะไมลบไฟลออกจากการดหนวยความจํา ขอมูลเดิมจะยังอยูในการด โปรดทราบวาความรับผิดชอบตอขอมูลในการดหนวยความจําเปนของคุณ ขอแนะนําขั้นตอนตอไปนี้ เมื่อคุณ จะทิ้งการดหนวยความจําหรือกลอง หรือหากคุณจะมอบสิทธิความเปนเจาของใหแกบุคคลอื่น • เมือ่ จะทิ้งการดหนวยความจํา ใหทําลายตัวการดหนวยความจําหรือใชซอฟตแวรลบขอมูลที่มีจําหนายทั่วไป ในการลบขอมูลในการดหนวยความจําออกใหหมด • เมือ่ จะโอนสิทธิความเป
การรีเซ็ตคากลับเปนคาแรกเริ่ม ตารางที่อยูในบทนี้จะแสดงคาแรกเริ่มที่ถูกกำหนดไวสําหรับรายการในเมนู (แสดงบนหนาจอเมื่อกดปุม [MENU]) หลังจากที่คุณรีเซ็ตกลอง (หนา 165) รายการเมนูจะขึ้นอยูที่วากลองอยูในโหมดบันทึกภาพ หรือโหมดเลนภาพ • สัญลักษณขีดคั่น (–) จะหมายถึงรายการที่ยังไมไดรีเซ็ตการตั้งคาหรือรายการที่ไมมีการตัง้ คารีเซ็ต • ทั้งนี้ขึ้นอยูกับโหมดบันทึก บางรายการที่ปรากฏในเมนูอาจใชงานไมได .
. p PLAY MENU ภาพ: ภาพทั้งหมด / เวลา: 30 นาที / ชวงเวลา: 3 วินาที / เอฟเฟกต: แบบที่ 1 ปองกัน – วันที่/เวลา – การหมุน – MOTION PRINT สราง แกขนาด – ตัดตอวีดีโอ – ตัดขอบ – แสงไฟ – คัดลอก – สมดุลแสงสีขาว – แบงกลุม – ความสวาง – หลายภาพตอเนื่อง – พิมพ DPOF – แกไขกรอบตอเนื่อง – โหมดประหยัด ปด ตั้งปดหนาจอ 1 นาที หนาจอ อัตโนมัติ ตั้งปดอัตโนมัติ 5 นาที Eye-Fi เปด REC ปด FlashAir เปด PLAY เปดเครื่อง ลบคีย เปดใชงาน เวลาโลก – เสียง เริ่มตน: เส
การใชฮีสโตแกรมบนหนาจอเพื่อตรวจสอบการชดเชยแสง (+ ฮีสโตแกรม) แสดงฮีสโตแกรมบนหนาจอ ซึ่งคุณสามารถใชในการตรวจสอบการชดเชยแสงของภาพ กอนที่จะถายภาพ ทั้งนี้ คุณสามารถแสดงฮีสโตแกรมในโหมดเลนภาพเพื่อดูขอมูล เกี่ยวกับระดับการชดเชยแสงของภาพ ฮีสโตแกรม • ฮีสโตแกรมกึ่งกลางจะไมรับประกันการชดเชยแสงที่ดีที่สุด ภาพที่บันทึกอาจมีแสงนอยหรือมีแสงมาก แมจะมีการเฉลี่ยคากลางของฮีสโตแกรมแลวก็ตาม • เนื่องจากมีขีดจํากัดในการชดเชยแสง คุณอาจไมสามารถกําหนดคาฮีสโตแกรมที่เหมาะที่สุดได • การใชแฟลชและสภาวะการถายภาพบางอยางจะท
ฮีสโตแกรมตัวอยาง ฮีสโตแกรมที่ไปทางดานซายจะเกิดขึ้นเมื่อภาพทั้งหมดมืด ฮีสโตแกรมที่อยูไกลออกไปทางดานซายมากอาจทําใหเกิด “ความมืดสนิท” ของสวนที่มืดในภาพ ฮีสโตแกรมที่ไปทางดานขวาจะเกิดขึน้ เมื่อภาพทั้งหมดสวาง ฮีสโตแกรมที่อยูไกลออกไปทางดานขวามากอาจทําใหเกิด “ความขาวโพลน” ของสวนที่สวางในภาพ ฮีสโตแกรมที่มีความสมดุลทั้งหมดจะเกิดขึน้ เมื่อภาพทั้งภาพ มีความสวางที่เฉลี่ยเทาๆ กัน 183 ภาคผนวก
เมื่อมีบางอยางไมถูกตอง...
ปญหา สาเหตุที่เปนไปไดและขอแกไข วัตถุตนแบบหลุดโฟกัส ในภาพที่บันทึก กลองอาจโฟกัสภาพไมถูกตอง เมื่อจัดองคประกอบภาพ คุณตองแนใจวา วัตถุตนแบบอยูในกรอบโฟกัส แฟลชไมทํางาน 1) หากเลือก ? (ปดแฟลช) เปนโหมดแฟลช ใหเปลี่ยนเปนโหมดอื่น (หนา 48) 2) หากแบตเตอรีอ่ อน ชารจแบตเตอรี่ (หนา 17) 3) หากเลือกฉาก BEST SHOT ที่ใช ? (ปดแฟลช) ใหเปลี่ยนเปนโหมดแฟลช โหมดอื่น (หนา 48) หรือเลือกฉาก BEST SHOT ฉากอื่น (หนา 74) ไอคอนสีแดง ? (ปดแฟลช) จะปรากฏบนหนาจอ และแฟลชจะไมทํางาน แฟลชอาจทํางานผิดปกติ ควรติ
ปญหา สาเหตุที่เปนไปไดและขอแกไข เครือ่ งบันทึกภาพ ที่ถายไวไมได 1) คุณอาจปดกลองกอนทีข่ ั้นตอนการบันทึกภาพจะเสร็จสมบูรณ ซึ่งจะทําให กลองไมสามารถบันทึกภาพได หากสัญลักษณแบตเตอรีแ่ สดง ชารจแบตเตอรีโ่ ดยเร็วที่สุด (หนา 21) 2) คุณอาจถอดการดหนวยความจําออกจากกลองกอนที่ขั้นตอนการบันทึก จะเสร็จสมบูรณ ซึ่งจะทําใหกลองไมสามารถบันทึกภาพได หามถอด การดหนวยความจํากอนที่ขั้นตอนการบันทึกจะเสร็จสมบูรณ แมวาแสงไฟจะสวาง ภาพใบหนาของบุคคล ในภาพกลับมืด แสงสวางที่กระทบวัตถุตนแบบไมเพียงพอ เป
ปญหา สาเหตุที่เปนไปไดและขอแกไข การเลน สีของภาพที่เลน อาจ แตกตางจากสีของภาพ ที่ปรากฏบนหนาจอ เมื่อถายภาพ แสงอาทิตยหรือแสงจากแหลงแสงสวางอื่นๆ อาจสองตรงเขาสูเลนสเมื่อคุณ ถายภาพ จัดตําแหนงกลองเพื่อไมใหแสงอาทิตยสองตรงเขาสูเลนส ภาพไมแสดง กลองเครื่องนี้ไมสามารถแสดงภาพที่ไมใช DCF ที่บันทึกไวในการดหนวยความจํา โดยใชกลองดิจิตอลเครือ่ งอื่นได ไมสามารถแกไขภาพได โปรดทราบวาคุณไมสามารถแกไขภาพนิ่งประเภทตอไปนี้ได (โดยใชสมดุลแสงสีขาว, • ภาพนิง่ ที่สรางขึ้นโดยใชฟงกชัน MOT
ปญหา สาเหตุที่เปนไปไดและขอแกไข หนาจอเลือกภาษา 1) คุณยังไมไดกําหนดการตั้งคาแรกเริม่ หลังจากซื้อกลอง หรือใสแบตเตอรี่ ปรากฏขึ้นเมื่อเปดกลอง ที่หมดแลวทิ้งไวในกลองถายรูป กําหนดการตั้งคาที่ถูกตอง (หนา 22, 163) 2) อาจเกิดปญหาเกี่ยวกับขอมูลหนวยความจําในกลอง หากเปนกรณีนี้ ใหทําการรีเซ็ตเพื่อกําหนดการตั้งคากลองเปนคาแรกเริม่ (หนา 165) หลังจากนั้น กําหนดการตั้งคาแตละคา หากหนาจอเลือกภาษาไมปรากฏขึ้นอีก เมื่อเปดกลอง หมายความวามีการเรียกคืนขอมูลการจัดการหนวยความจํา ในกลอง หากขอค
ขอความบนหนาจอ ALERT อาจเปดใชฟงกชันปองกันของกลองไวเนื่องจากอุณหภูมิของกลองสูงมาก ปดกลอง แลวรอจนกวากลองจะเย็นลงกอนที่จะใชเครื่องอีกครั้ง แบตเตอรี่ออน พลังงานแบตเตอรี่ออน คนหาไฟลไมพบ ไมพบภาพที่คุณกําหนดการตั้งคา “ภาพ” ในสไลดโชว เปลี่ยนการตั้งคา “ภาพ” (หนา 121) แลวลองอีกครั้ง มีสิ่งผิดปกติเกิดขึ้นกับการดหนวยความจํา ปดกลอง ถอดการดหนวยความจํา ออก แลวใสกลับเขาไปในกลองใหม หากขอความเดิมยังปรากฏซ้ํา เมื่อคุณ เปดกลองอีกครั้ง ใหฟอรแมตการดหนวยความจํา (หนา 165) การดข
การพิมพขัดของ เกิดความผิดพลาดขึ้นในขณะพิมพ • เครื่องพิมพยังปดอยู • เครื่องพิมพทํางานผิดพลาดเอง ฯลฯ การบันทึกผิดพลาด ไมสามารถบีบอัดภาพขณะบันทึกขอมูลภาพดวยเหตุผลบางอยาง ใชฟงกชันซูมเพื่อเปลี่ยนองคประกอบภาพ แลวถายภาพใหมอกี ครั้ง SYSTEM ERROR ระบบการทํางานของกลองเกิดติดขัด ติดตอผูจําหนายหรือศูนยบริการ CASIO ใกลบาน การดถูกล็อค สวิตช LOCK ของการดหนวยความจํา SD, SDHC หรือ SDXC ที่อยูในกลองอยูที่ตําแหนงล็อค คุณไมสามารถ บันทึกภาพหรือลบภาพจากการดหนวยความจําที่ยังล็อคไว ไมม
จํานวนภาพนิง่ /เวลาในการบันทึกภาพเคลื่อนไหว ภาพนิ่ง ขนาดภาพ (พิกเซล) คุณภาพ ขนาดไฟล 10.71 MB จํานวนภาพที่บันทึกได จํานวนภาพที่บันทึกได ในหนวยความจํา ในการดหนวยความจํา ภายใน*1 SD*2 16M (4608x3456) ละเอียด ปกติ 5.57 MB 5 1654 3:2 (4608x3072) ละเอียด 9.43 MB 4 1214 ปกติ 4.92 MB 6 1873 16:9 (4608x2592) ละเอียด 7.83 MB 5 1466 ปกติ 4.1 MB 7 2221 10M (3648x2736) ละเอียด 6.4 MB 6 1787 ปกติ 3.38 MB 9 2728 5M (2560x1920) ละเอียด 2.99 MB 10 2990 ปกติ 1.
ภาพเคลื่อนไหว ขนาดภาพ/ พิกเซล (เสียง) อัตราการสงขอมูล โดยประมาณ (อัตราการแสดงภาพ) ขนาดไฟล สูงสุด จํานวนภาพที่ เวลาบันทึก ขนาดไฟล เวลาในการ บันทึกไดใน สูงสุดดวยการด ของภาพ บันทึกอยาง หนวยความจํา หนวยความจํา เคลือ่ นไหว ตอเนือ่ งตอภาพ ภายใน*1 SD*2 1 นาที เคลือ่ นไหว*3 FHD 14.2 เมกะบิต/วินาที (1920x1080) (30 เฟรม/วินาที) (สเตอริโอ) 27 วินาที 2 ชั่วโมง 13 นาที 106.5 MB 29 นาที HD 10.9 เมกะบิต/วินาที (1280x720) (15, 20, 30 เฟรม/วินาที) (สเตอริโอ) *5 35 วินาที 2 ชั่วโมง 53 นาที 81.
คุณภาพของภาพ (พิกเซล) /(เสียง) อัตราการสงขอมูล โดยประมาณ (อัตราการแสดงภาพ) ขนาดไฟล สูงสุด จํานวนภาพที่ เวลาบันทึกสูงสุด เวลาในการบันทึก บันทึกไดใน ดวยการด อยางตอเนือ่ ง ตอภาพ หนวยความจํา หนวยความจํา SD*2 เคลื่อนไหว*3 ภายใน*1 YouTube (FHD) (1920x1080) (สเตอริโอ) 14.2 เมกะบิต/วินาที (30 เฟรม/วินาที) 27 วินาที 2 ชัว่ โมง 13 นาที 15 นาที YouTube (STD) (640x480) (สเตอริโอ) 3.
• คาของความจุในการบันทึกภาพนิ่งและภาพเคลื่อนไหวเปนคาประมาณและใชเพื่ออางอิงเทานั้น ความจุตามจริง จะขึ้นอยูกับรายละเอียดของภาพ • คาของอัตราการสงขอมูลและขนาดภาพเปนคาประมาณและใชเพื่ออางอิงเทานั้น คาตามจริงจะขึ้นอยูกับชนิด ของภาพที่ถาย • เมื่อใชการดหนวยความจําที่มีขนาดพื้นที่แตกตางกัน ใหคํานวณจํานวนภาพเปนจํานวนเปอรเซ็นตของขนาด 16 GB • เวลาที่ใชในการเลนภาพเคลื่อนไหวความเร็วสูงจะแตกตางจากเวลาที่ใชในการบันทึกภาพดังกลาว เชน หากคุณ บันทึกภาพเคลื่อนไหวความเร็วสูง 240 fps เปนเวลา 10 วิน
ขอมูลจําเพาะ รูปแบบไฟล สื่อบันทึก ขนาดภาพที่บันทึกได พิกเซลที่ใชงานไดดี องคประกอบภาพ เลนส/ระยะโฟกัส (ภาพนิ่ง) ซูม ระบบโฟกัส ระยะโฟกัสโดยประมาณ (จากผิวเลนส) วัดแสง ภาพนิ่ง: JPEG (Exif Version 2.3; DCF 2.0 standard; DPOF compliant) ภาพเคลื่อนไหว: MOV format, H.264/AVC standard, IMA-ADPCM (สเตอริโอ) หนวยความจําภายใน (พื้นที่จัดเก็บภาพ: 52.
การควบคุมระบบชดเชยแสง โปรแกรม AE, ปรับตามรูรบั แสง AE, ปรับตามความเร็วชัตเตอร AE, ปรับคาแสงเอง การชดเชยแสง –2.0 EV ถึง +2.
อายุการใชงานแบตเตอรี่โดยประมาณ คาทั้งหมดที่ระบุไวดานลางเปนคาของเวลาโดยประมาณภายใตสภาพอุณหภูมปิ กติ (23°C) กอนจะปดกลอง คานี้เปนคาที่ไมรับรอง อุณหภูมิต่ําจะทําใหอายุการใชงานแบตเตอรี่สั้นลง จํานวนการถายภาพ (เวลาในการทํางาน)*1 จํานวนการถายภาพ (ECO) 515 ครัง้ 640 ครัง้ *1 เวลาบันทึกภาพเคลื่อนไหวตามจริง (ภาพเคลื่อนไหว FHD) 1 ชั่วโมง 35 นาที เวลาบันทึกภาพเคลื่อนไหวตอเนื่องโดยประมาณ (ภาพเคลื่อนไหว FHD) 2 ชั่วโมง 35 นาที เวลาบันทึกภาพเคลื่อนไหวตอเนื่องโดยประมาณ (ภาพเคลื่อนไหวความเร็วสูง (
. แบตเตอรี่ลิเธียมไอออนแบบชารจ (NP-130) แรงดันไฟฟามาตรฐาน 3.7 V ความจุมาตรฐาน 1800 mAh ความตองการสําหรับอุณหภูมิ การใชงาน 0 ถึง 40°C ขนาด 37.8 (กวาง) x 44.8 (สูง) x 11.2 (ลึก) มม. (ไมรวมสวนที่ยื่นออกมา) น้ําหนัก ประมาณ 38 กรัม . อะแดปเตอร USB-AC (AD-C53U) กําลังไฟทีใ่ ช 100 ถึง 240 V AC, 50/60 Hz, 100 mA กําลังไฟทีข่ ับ 5.0 V DC, 650 mA ความตองการสําหรับอุณหภูมิ การใชงาน 5 ถึง 35°C ขนาด 53 (กวาง) x 21 (สูง) x 45 (ลึก) มม.
CASIO COMPUTER CO., LTD.